Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความสบายใจ, สบายใจ, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความสบายใจ, 3696 found, display 551-600
  1. จุตูปปาตญาณ : (นปุ.) ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งจุติ และปฏิสนธิเครื่องเข้าไปตก, ญาณอันเป็น ไปด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งอันเคลื่อน และอันเข้าตก, ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งอัน เคลื่อนและอันเข้าถึง, ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่ง การจุติและการเกิด, ความรู้ในจากจุติและ การเกิด.
  2. จุนฺท : (ปุ.) ความรุ่งเรือง, จุนทะ ชื่อคน. จทิ ทิตฺติยํ, อ, อสฺสุ.
  3. เจตนก : ค. ซึ่งเนื่องด้วยเจตนา, มีความคิด, มีความตั้งใจ
  4. เจตนา : (อิต.) ธรรมชาติผู้คิด, ความคิด, ความคิดอ่าน, ความนึก, ความตริ, ความดำริ, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ. วิ. จินฺตนา เจตนา. เจตยตีติ วา เจตนา. จิตฺ สํเจตเน, ยุ. ไทยใช้ เจตนาเป็นกิริยา ในความหมาย ว่า จงใจ ตั้งใจ มุ่งหมาย ส. เจตนา.
  5. เจตส : (ปุ.) ใจ, ความคิด, ความนึก, ฯลฯ. จิตฺธาตุ ส ปัจ.
  6. เจตา : (อิต.) ความคิด, ความรู้, ความจงใจ, ความตั้งใจ.
  7. เจโตขิล, - ขีล : ป. ตะปูตรึงใจ, ความเคลือบแคลงดุจเสี้ยนแทงใจ, ความกระด้างแห่งจิตใจ, ความเสื่อมเสียทางใจ
  8. เจโตปณิธิ : ป. ความตั้งใจแน่วแน่, ความปักใจ, การตั้งจิตปรารถนา
  9. เจโตปโทส : ป. ความเสื่อมเสียแห่งใจ, ความมัวหมองแห่งจิต, ความชั่วทางใจ
  10. เจโตปริจฺจ : นป. ความยักเยื้องแห่งจิต, ความเป็นไปต่างๆ แห่งจิต, สภาพของจิต, อุปนิสัย
  11. เจโตปริยญาณ : นป. ญาณกำหนดรู้แห่งจิตใจ (ของผู้อื่น), ความรู้จักทายใจคน
  12. เจโตปริยาย : (ปุ.) การกำหนดใจ, การกำหนด วาระจิต (คือช่วงของความคิด).
  13. เจโตปริวิตกฺก : ป. ความตรึกตรองแห่งจิต, ความครุ่นคิด, ความไตร่ตรอง
  14. เจโตปสาท : ป. ความผ่องใสแห่งจิต, ความอิ่มใจ
  15. เจโตผรณตา : อิต. ความแผ่ซ่านแห่งจิต, ความอิ่มเอิบแห่งจิต, ความฟูใจ
  16. เจโตวสิปฺปตฺต : ค. ผู้ถึงความเป็นผู้ชำนาญทางใจ, ผู้มีอำนาจเหนือจิต
  17. เจโตวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยอำนาจ แห่งใจ. ความหลุดพ้นที่มีสมาธิเป็น ปทัฏฐาน คือได้บรรลุฌานมาก่อนแล้วจึง บำเพ็ญวิปัสสนาต่อจนละกิเลสาสวะได้ เรียกว่า เจโตวิมุติ. ลำพังฌาน ไม่สามารถ ละกิเลสาสวะได้เด็ดขาด เป็นแต่สะกดไว้ อย่าเข้าใจผิด.
  18. เจโตสมถ : (ปุ.) ความสงบแห่งจิต.
  19. เจโตสมาธิ : ป. ความตั้งมั่นแห่งจิต
  20. เจลุกฺเขป : ป. การยกขึ้นซึ่งผ้า, การโบกผ้า (แสดงความพอใจ)
  21. โจกฺขภาว : ป. ความเป็นของสะอาด, สะอาด
  22. โจปนวาจา : (อิต.) คำพูดอันยังผู้ฟังให้ไหว, โจปนวาจา คือ กิริยาอาการพิเศษที่เป็นไป ในคำพูด ซึ่งทำให้ผู้ฟังรู้ความประสงค์ ของผู้พูด.
  23. โจริก : (นปุ.) ความเป็นแห่งโจรหญิง กณฺ ปัจ.
  24. ฉกลก ฉคลก : (ปุ.) แพะ วิ. ฉินฺทนฺโต คจฺฉตีติ ฉกลโก ฉคลโก วา. ฉ มาจาก โฉ ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. กล, คล มาจาก คมฺ ธาตุ อ ปัจ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. แปลง ม เป็น ล ศัพท์ต้น แปลง ค เป็น ก ลง ก สกัด. ส. ฉค.
  25. ฉฎา : (อิต.) ความรุ่งเรือง, ฯลฯ, รัศมี, เส้นตรง, แถวตรง. ส. ฉฏา.
  26. ฉฎาภา : (อิต.) รัศมีคือความรุ่งเรือง, แสงสว่าง. ส. ฉฏาภา ว่าฟ้าแลบ.
  27. ฉฏา : อิต. ความสุกใส; กอง; แถว, แนว
  28. ฉณ : (ปุ.) การรื่นเริงเป็นที่ตัดเสียซึ่งความโศก, มหรสพ,มโหรสพ. วิ. ฉินฺทติ โสก เมตฺถาติ ฉโณ. ฉิ เฉพฺน, ยุ, อิสฺสตฺตํ. ใน วิ. ใช้ ฉิทฺ ธาตุแทน เป็น ฉณฺณ บ้าง.
  29. ฉนฺท : (ปุ.) สภาพผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความตั้ง ใจ, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความปรา- รถนา, ความต้องการ, ความอยาก, ความอยากได้, ความมุ่งหมาย, ความยินดี, ความรัก, ความรักใคร่, ความสมัคร, ความสมัครใจ, ความเต็มใจ, ความอยู่ในอำนาจ, อัธยาศัย, ตัณหา, พระเวท. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ฉนฺท. ฉนฺท ฉันท์ ชื่อคำประพันธ์อย่าง ๑ มีหลาย ชื่อ มีหลักการวางคำ ครุ ลหุ และจำนวน คำแต่ละบาทต่างๆ กัน วิ. วชฺชํ ฉาทยตีติ ฉนฺทํ. ฉทฺ สํวรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ส. ฉนฺทสฺ.
  30. ฉนฺทช : ค. เกิดความพอใจ, เกิดความรักใคร่หรือปรารถนา
  31. ฉนฺทน : (ปุ.) ความตั้งใจ, ฯลฯ. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, ยุ.
  32. ฉนฺทนานตฺต : นป. ความแตกต่างกันแห่งความพอใจหรือปรารถนา
  33. ฉนฺทปหาน : นป. การละความพอใจหรือปรารถนาผิด
  34. ฉนฺทมูลก : ค. มีความพอใจเป็นมูล
  35. ฉนฺทราค : (นปุ.) ความกำหนัดด้วยสามารถ แห่งความพอใจ, ฯลฯ.
  36. ฉนฺทสมฺปทา : อิต. ความถึงพร้อมด้วยความพอใจ, ความตั้งใจแน่วแน่
  37. ฉนฺทสามาธิปธานสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่ง อันเป็นประธานคือความตั้งมั่นแห่งความพอใจ.
  38. ฉนฺทาคติ : (อิต.) ความลำเอียงเพราะความรัก, ความลำเอียงเพราะความรักใคร่, ความลำเอียงเพราะความรักใคร่กัน ความลำ เอียงเพราะความพอใจ.
  39. ฉนฺทาธิปเตยฺย : ค. ตกอยู่ในอำนาจความรักใคร่หรือพอใจ, มีความรักใคร่พอใจเป็นใหญ่
  40. ฉนฺทานูมคิ : (อิต.) ความรู้ตามโดยความพอใจ ความยินยอมตามโดย ความพอใจ, ความเห็นชอบตามด้วยความพอใจ.
  41. ฉนฺทามุนีต : ค. ซึ่งถูกความพอใจนำไปแล้ว
  42. ฉนฺทิก : ค. มีความพอใจ, มีความพยายาม
  43. ฉนฺทีกต : อิต. มีความพอใจ, มีความพยายาม
  44. ฉมฺภิตตฺต : (นปุ.) ความหวาดหวั่น, ความสะดุ้ง, ความหวาดเสียว, ความครั่นคร้าม. ฉภิ อุตฺราเส, โต, ลงนิคคหิตและอิอาคม ได้ รูปเป็น ฉมฺภิต แล้วลง ตฺต ปัจ. ภาวตัท. สะกัด.
  45. ฉล : (นปุ.) การล่อลวง, การโกง, การพลั้ง – พลาด, ความล่อลวง, ฯลฯ. ขลฺ จลเน, อ, ขสฺส โฉ. ส. ฉล.
  46. ฉวิกลฺยาณ : นป. ความงามแห่งผิว
  47. ฉาตก : ๑. นป. ความหิว; ความอยาก, ความกระหาย ; ๒. ค. ดู ฉาต
  48. ฉาตกภย : (นปุ.) ภัยคือความหิว วิ. ฉาตโก เอว ภยํ ฉาตกภยํ. ภัยอันเกิดจากความหิว วิ. ฉาตกมฺหา ชาตํ ภยํ ฉาตกภยํ. ไทยใช้ ฉาตกภัยในความหมายว่า ภัยอันเกิดจาก ไม่มีอาหารการกิน ข้าวยากหมากแพง ภัย อันเกิดจากความแห้งแล้ง.
  49. ฉาต ฉาตก : (ปุ. นปุ.) ความอยาก, ฯลฯ.
  50. ฉาตชฺฌตฺต : (วิ.) อันความหิวเผาแล้ว, อัน ความหิวให้เหี้ยมเกรียมแล้ว.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | [551-600] | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3696

(0.0536 sec)