Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความประณีต, ประณีต, ความ , then ความ, ความประณีต, ปรณต, ประณีต .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความประณีต, 3697 found, display 101-150
  1. กรมรานีต : (ปุ.) คนผู้อัน...นำมาแล้วด้วยความเป็นแห่งเชลย, ทาสเชลย. วิ. กรมรภาเวน อานีโต กรมรานีโต.
  2. กรุณ : (ปุ.) กรุณะ (ความเอ็นดู) ชื่อนาฏยรส อย่างที่ ๒ ใน ๙ อย่าง. กรฺ กรเณ, อุโณ.
  3. กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
  4. กรุณาคุณช : ค. อันเกิดจากคุณแห่งความกรุณา
  5. กรุณาชล : นป. น้ำแห่งความกรุณา, สาย (ฝน) แห่งความเอ็นดู
  6. กรุณาฌาน : นป. การเพ่งอันเกี่ยวกับความกรุณา
  7. กรุณาธิมุตฺต : นป. ความมุ่งในความกรุณาหรือความเอ็นดู, ความน้อมไปในความกรุณา
  8. กรุณานุวตฺตี : ค. อันอนุวัตตามกรุณา, เป็นไปตามความเอ็นดู
  9. กรุณาปร : ค. ผู้มีความกรุณาสูง, ผู้มีความกรุณาเป็นเบื้องหน้า
  10. กรุณาภาวนา : อิต. กรุณาภาวนา, การเจริญหรือก่อให้เกิดความกรุณา
  11. กรุณายน : อิต. ความกรุณา, ความเอ็นดู
  12. กรุณารส : ป. รสแห่งความกรุณา
  13. กรุณาวิหาร : ค. มีจิตอยู่ด้วยความกรุณา, จิตประกอบด้วยความเอ็นดู
  14. กฺลทน : (นปุ.) ความชื้น, ความชุ่ม, ความเปียก, ความซึม, ความเยิ้ม. กฺลทฺ อลฺลภาเว, ยุ. ส. กฺลทน.
  15. กลฺยตา : อิต. ความเป็นผู้มีสุขถาพดี, ความเป็นที่น่ายินดี
  16. กลฺยาณก : (นปุ.) ความเป็นแห่ง...อันงาม. กณฺปัจ. ภาวตัท.
  17. กลฺยาณจริต : ค. ผู้ประพฤติความดีงาม
  18. กลฺยาณตา : อิต. ความดี, ความเป็นผู้มีคุณธรรมอันดีงาม
  19. กลฺยาณมิตฺตตา : อิต. ความเป็นผู้มีมิตรดี; การคบค้าสมาคมกับคนดี
  20. กลฺยาณสมฺปวงฺกตา : อิต. ความเป็นผู้มีเพื่อนที่ดีงาม
  21. กลฺยาณี : (วิ.) ผู้มีความดี, ผู้มีความงาม.
  22. กลฺลตา : อิต. ความสามารถ, ความพร้อม
  23. กลฺลาณ : (ปุ.) ธรรมดี, ความดี. กลฺ สํขฺยาเณ, ลาโณ.
  24. กลฺลิต : นป. ความยินดี, ความพอใจ, ความเห็นด้วย
  25. กลห : (ปุ.) วาทะเป็นที่โต้เถียง วิ. กลหนฺติ อสฺมินฺติ กลโห. กลหฺ กุจฺฉเน, อ. วาจา เป็นเครื่องโต้เถียง วิ. กลียติ ปริมียติ อเนน สูรภาวนฺติ กลโห. กลฺ สํยฺ ยาเณ, โห. ลง อ ปัจ. ประจำธาตุก่อนแล้วลง ห ปัจ. การ ทะเลาะ, การวิวาท, ความทะเลาะ. ความวิวาท, ความทุ่มเถียง วิ. กลหนํ กลโห. ส. กลห.
  26. กลาปขณฺฑาทิภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งวัตถุมี ชิ้นกระเบื้องเป็นต้น.
  27. กลิ : (ปุ.) ความพ่ายแพ้, โทษ, ความชั่ว, บาป. วิ. กลียตีติ กลิ. กลฺ สํขฺยาเณ, อิ.
  28. กลิคฺคห : ป. ผลชั่ว, ความพ่ายแพ้
  29. กวิตฺต : นป., กวิตา อิต. ความเป็นกวี
  30. กสายตฺต : นป. ความฝาด
  31. กฬุส : (นปุ.) ความชั่ว, ฯลฯ. ดู กลุส ประกอบ.
  32. กากปญฺญา : อิต. ความฉลาดเยี่ยงกา, ความฉลาดแกมโกง
  33. กากสูร : ๑. ป. กาตัวกล้า, ความกล้าของกา; ๒. ค. ผู้กล้าเหมือนอย่างกา, ผู้ฉลาดเหมือนอย่างกา, ผู้ไม่มียางอาย
  34. กาจนา : อิต. ความตรึกตรอง, ความพินิจ; เครื่องชั่ง
  35. กาตร : (วิ.) ไม่หาญ, ไม่แน่ใจลงไป, ทำให้ ฉงน. กุศัพท์ ตร ปัจ. แปลง กุ เป็น กา หรือ กุบทหน้า ตรฺธาตุในความข้าม อ ปัจ. วิ. อีสํ ตรติ สการิยํ กตฺตุ สกฺโกตีติ กาตโร. อภิฯ. ส. กาตร.
  36. กาตุกามตา, กาตุกมฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ใคร่เพื่อทำ, ความประสงค์จะทำ
  37. กาปญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันคน ควรกรุณา, ความเป็นแห่งคนผู้ควรสงสาร. กปณ ศัพท์ ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ทีฆะต้น ศัพท์ ลบ อ ที ณ ด้วยอำนาจ ปัจ. ได้รูป เป็น ณฺ ลบ ณฺ ของปัจ. เหลือ ย รวมกับ ณฺ ที่สุดศัพท์ เป็น ณฺย แปลง ณฺย เป็น ญฺญ.
  38. กามก : ค. ผู้มีความใคร่, ผู้มีความอยาก
  39. กามกร : ป., นป. การทำความใคร่, การตั้งความใคร่
  40. กามโกป : ป., นป. ความกำเริบแห่งกาม
  41. กามคฺค : นป. ความกำหนัดยิ่ง, ความยินดียิ่ง
  42. กามเคธ : ป. ความยินดีในกาม, ความข้องหรือติดอยู่ในกาม
  43. กามจฺฉนฺท : ป. ความพอใจในกาม
  44. กามฉนฺท : (ปุ.) ความพอใจในความใคร่, ฯลฯ, ความพอใจในกาม, ความพอใจในกามทั้ง ๕.
  45. กามชฺฌ : ป. ความติดอยู่ในกาม, ความพัวพันในกาม
  46. กามตณฺหา : (อิต.) ความกำหนัดแห่งจิตอัน สหรคตด้วยกามธาตุ ความอยากในความใคร่, ฯลฯ, ความพอใจในกามทั้ง ๕, ตัณหาคือกาม.
  47. กามตฺถกาม : ค. ผู้ปรารถนาความดีงาม, ผู้ใคร่เพื่อประโยชน์แก่กาม
  48. กามตา : อิต. ความอยาก, ความใคร่
  49. กามทุกฺข : นป. ความทุกข์เพราะกาม, กามทุกข์
  50. กามทุห : ค. อันให้ความปรารถนา
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3697

(0.0999 sec)