Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความประณีต, ประณีต, ความ , then ความ, ความประณีต, ปรณต, ประณีต .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความประณีต, 3697 found, display 3651-3697
  1. เอกีภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เดียว, ความเป็นคนผู้เดียว, ความเป็นผู้ผู้เดียว.
  2. เอโกทิภาว : ป. ความแน่วแน่, ความเป็นสมาธิ
  3. เอชฺชา : (อิต.) ความปรารถนา, ความอยากได้, ความหวั่นไหว. วิ. อญฺชนํ เอชฺชา. อิญฺช กมฺปเน, โณฺย.
  4. เอชา : (อิต.) เอชา ชื่อของตัณหา, ตัณหา, เอชา วุจฺจติ ตณฺหา. ความปรารถนาจัด, ความอยากได้จัด, ความปรารถนา. ความอยากได้, ความแสวงหา, ความหวั่นไหว. วิ เอชตีติ เอชา. เอชฺ กมฺปเน, อ. เอชนํ วา เอชา.
  5. เอฏฐิ : อิต. ความอยาก, ตัณหา, การแสวงหา
  6. เอฏฺฐิ : (อิต.) ความปรารถนา, ความอยากได้, ความชอบใจ, ความแสวงหา. อิสฺ คเวสเน, ติ, ติสฺส ฏฺฐิ, อิสฺเส, สฺโลโป.
  7. เอตาทิส เอทิกฺข เอริกฺข เอทิส เอริส เอที : (วิ.) เห็น...นั้นประดุจ...นี้, เห็นซึ่งบุคคล นั้นประดุจบุคคลนี้, เห็นบุคคลนั้นราวกะ ว่าบุคคลนี้, เห็นปานนี้. วิ. เอตมิว นํ ปสฺสตีติ เอตาทิโส, ฯลฯ. เอตศัพท์ซึ่ง แปลงมาจาก อิม เป็น บทหน้า ทิสฺ ธาตุ ในความเห็น กฺวิ ปัจ. ศัพท์แรก ทีฆะ อ ที่ ต ศัพท์หลัง ๆ แปลง เอต เป็น เอ ศัพที่ ๒ และ ๓ แปลง สฺ เป็น กฺข ศัพท์ ที่ ๓ และ ๕ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๖ ลบ ที่สุดธาตุ แปลง อิ เป็น อี. รูปฯ ๕๗๒.
  8. เอล : ๑. ป. กระวาน; ๒. นป. โทษ, บาป, ความชั่ว
  9. เอส : (ปุ.) การแสวงหา, การค้นหา, ความแสวงหา, ฯลฯ. เอส มคฺคเน, อ, ยุ.
  10. เอสน : (นปุ.) การแสวงหา, การค้นหา, ความแสวงหา, ฯลฯ. เอส มคฺคเน, อ, ยุ.
  11. เอสนา : (อิต.) การแสวงหา, การค้นหา, ความแสวงหา, ฯลฯ. เอส มคฺคเน, อ, ยุ.
  12. เอหิภิกฺขุภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งเอหิภิกษุ.
  13. โอกฺกม : (ปุ.) การหยั่งลง, การย่างลง, การก้าวลง, ความหยั่งลง, ฯลฯ. โอปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
  14. โอกฺกมน : (นปุ.) การหยั่งลง, การย่างลง, การก้าวลง, ความหยั่งลง, ฯลฯ. โอปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
  15. โอกญฺชห : (ปุ.) การละความอาลัย. โอกปุพฺ โพ, หา จาเค, อ, เทฺวภาโว, รสฺโส, หสฺส โช, ญฺสํโยโค. โอกนฺติ โอกฺกนฺติ
  16. โอกปฺปนา : อิต. การทำให้แน่วแน่, ความไว้วางใจ, ความเชื่อมั่น
  17. โอกปฺปนา โอกฺกปฺปนา : (อิต.) ความเชื่อ, ความเชื่อถือ. โอปุพฺโพ, กปฺ สามตฺถิเย, ยุ, อิตฺถิยํ อา.
  18. โอกาส : (ปุ.) ช่อง, ช่องเป็นที่ไถลง, ที่แจ้ง, ที่ว่าง, เหตุ, การณะ, เวลา, สถานที่, เทสะ, เอกเทศ, ทาง, ทนทาง. อวปุพฺโพ, กสฺ วิเลขเน, โณ. ไทย โอกาส (โอกาด) ใช้ ในความหมายว่า เวลาที่เหมาะสม เวลาที่เหมาะ ช่องที่เหมาะ อุ. ได้โอกาส การอนุญาต อุ. ให้โอกาส. ส. อวกาศ.
  19. โอจรติ : ก. ค้นหา, สืบความลับ, ไต่สวน
  20. โอจิตฺย : นป. ความเหมาะสม, ความสมควร
  21. โอจินน : นป. ความเหมาะสม, การเก็บ
  22. โอชวนฺตตา : อิต. ความมีโอชะ, ความมีน้ำหล่อเลี้ยง, ความมีกำลัง
  23. โอตฺตปฺป : นป. ความเกรงกลัวต่อบาป, ความสะดุ้งต่อบาป
  24. โอตฺตปฺปี, - ตาปี : ค. มีความกลัวต่อบาป, มีความสะดุ้งต่อบาป
  25. โอตปฺป โอตฺตปฺป : (นปุ.) ความสะดุ้ง, ความเกรงความผิด (เกรง คือ กลัว), ความกลัว, ความเกรงกลัว, ความสะดุ้งกลัวต่อบาป, ความเกรงกลัวต่อบาป, ความกลัวต่อบาป, ความสะดุ้งกลัวต่อผลของความชั่ว, ความเกรงกลัวต่อผลของความชั่ว, ความกลัว บาป. วิ. โอตฺตปฺปติ ปาปโตติ โอตปฺปํ โอตฺตปฺปํ วา. อวปุพฺโพ, ตปฺ อุพฺเพเค, อ. แปลง ป เป็น ปฺป ศัพท์หลังซ้อน ตฺ.
  26. โอตรณ : (นปุ.) การข้ามลง, ความข้ามลง. โอปุพฺโพ, ตรฺ ตรเณ, ยุ.
  27. โอทคฺย : นป. ความปิติยินดี, ความร่าเริง
  28. โอปกฺกม : (ปุ.) ความเพียร, อุปกฺกมศัพท์ พฤทธิ์ อุ เป็น โอ.
  29. โอปกฺกมิก : (วิ.) มีความเพียร, เกิดเพราะ ความเพียร.
  30. โอปรชฺช : นป. ความเป็นพระราชาผู้รอง, ตำแหน่งอุปราช
  31. โอภ : (ปุ.) ความเต็ม, ความบริบูรณ์. อุภฺ ปูรเณ, โณ.
  32. โอภาส : (ปุ.) ความรุ่งเรือง, ความสว่าง, ความสวยงาม, ความสุกใส, ความเปล่ง ปลั่ง, รัศมี, แสง, แสงสว่าง. อวปุพฺโพ, ภาสฺ ทิตฺติยํ โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ.
  33. โอโภค : (ปุ.) ขนด, การม้วน, การคด, การโค้ง, ความคด, ความโค้ง, โอปุพฺโพ, ภุชฺ โกฏิลฺเล, อ, โณ วา.
  34. โอมาน : (ปุ.) ความดูถูก, ความดูหมิ่น, ความดูหมิ่นตนเอง. โอปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ.
  35. โอลิยน : (นปุ.) ความติดอยู่. โอปุพฺโพ, ลิปิ ลิมฺปเน, ยุ.
  36. โอลียนา : อิต. ความช้า, ความเฉื่อยชา
  37. โอโลกน : (นปุ.) การแลดู, ความแลดู (เบื้อง บน), หน้าต่าง. อุปุพฺโพ, โลกฺ ทสฺสเน, ยุ.
  38. โอวาทปาฏิโมกฺข โอวาทปาติโมกฺข : (ปุ.) คำสั่งสอนอัน เป็นประธานโดยความเป็นใหญ่, โอวาทปาฏิโมกข์, โอวาทปาติโมกข์ ชื่อ โอวาทซึ่งประพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระอรหันต์ ๑๒๕๐ องค์ เป็น เอหิภิกขุอุป สัมปทา ทั้งสิ้น ซึ่งมาประชุมกันโดยมิได้ นัดหมาย ณ วันเพ็ญมาฆบูชาหลังตรัสรู้ แล้วได้ ๙ เดือน เป็นหลักสำคัญ (หัวใจ) ของพระพุทธศาสนา มหาปธานสูตร ที. มหา. ไตร. ๑๐/๕๔.
  39. โอส : (ปุ.) แผ่นดิน. อูสฺ ราชายํ. โณ. สีหฬ เป็น อูส. ความสว่าง, ความรุ่งเรือง, ความร้อน, ไฟ. อุสฺ ทาเห, โณ.
  40. โอสกฺกน : (นปุ.) ความท้อถอย, ความท้อแท้, ความอ่อนแอ, ความถอยหลัง. โอปุพฺโพ, สกฺกฺ คติยํ, ยุ.
  41. โอสฺสคฺค : นป. ความขาดสติ, ความไม่ตั้งใจ, ความประมาท
  42. โอสุมิก : ค. ซึ่งเป็นของร้อน, มีความร้อน
  43. โอหารี : ป. การดึงลง, การถ่วงลง, ความหนัก
  44. เ สฺนห : (ปุ.) ความเยื่อใย, ความรัก, ความรักใคร่, ความอาลัย, ความติดพัน, ความรักยิ่ง, ยาง(ของความรัก), ความประดิพัทธ์, ความเสน่หา, น้ำมัน. สฺนิหฺ ปีติยํ, โณ.
  45. ปริณต : กิต. เปลี่ยนไปแล้ว, แปรไปแล้ว, สุกงอมแล้ว, แก่แล้ว, งอมแล้ว
  46. ปริณต ปรินต : (วิ.) น้อมไปโดยรอบ, แปรไป, เปลี่ยนแปลง, คร่ำคร่า, แก่, แก่จัด, แก่เฒ่า, ปริ+นมฺ+ต ปัจ. ลบที่สุดธาตุ ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
  47. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | [3651-3697]

(0.1193 sec)