Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความสัมพันธ์, สัมพันธ์, ความ , then ความ, ความสมพนธ, ความสัมพันธ์, สมพนธ, สมฺพนฺธ, สัมพันธ์ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความสัมพันธ์, 3702 found, display 2651-2700
  1. อญฺญถาภาว : (ปุ.) ความเป็นโดยประการอื่นความเป็นอย่างอื่น, ความแปรปรวน, ความเปลี่ยนแปลง, ความตรงกันข้าม, ความต่อสู้, วิปลาส.วิ.อญฺเญน ปกาเรนภาโว อญฺญถาภาโว.
  2. อญฺญมญฺญ : (วิ.) กันและกัน.วิ. อญฺญํอญฺญอญฺญมญฺญํ.ํมฺอาคมไทยใช้เป็นภาษาพูดว่าอัญญมัญญังในความหมายว่า ซึ่งกันและกัน.
  3. อญฺญาณ : (นปุ.) ความรู้.ยุปัจ.
  4. อญฺญาปฏิเวธ : (ปุ.) ความแทงตลอดพระอรหัตผล, การบรรลุพระอรหัตผล
  5. อฏฺฏการ : ป. ลูกความ, คู่ความ
  6. อฏฺฏิ : (อิต.) ความเบียดเบียน, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, แผล.อฏฺฏ อนาทาเร, อิ.
  7. อฏฺฏิยนา : (อิต.) ความระอา, ความเบื่อ, ความลำบาก.อฏฺฏฺอนาทาเร.ณฺยปัจ.ประจำธาตุยุปัจ.อิอาคมอาอิต.
  8. อฏฺฏียน : นป. ความไม่พอใจ, ความตกใจ
  9. อฏฺฐกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อ ความ, วาจาเป็นเครื่องอัน....กล่าวซึ่งเนื้อ ความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ, อรรถกถา (คำอธิบายบาลีพุทธพจน์ที่ยาก ให้ง่ายขึ้น คำอธิบายแก้อรรถบาลี). วิ. อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ อฏฺฐกถา. อตฺถปุพฺ โพ, กถ. กณน, อ, อิตฺถิยํ อา, ตฺถสฺส ฏฺโฐ
  10. อฏฺฐกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องอัน....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ, อรรถกถา (คำอธิบายบาลีพุทธพจน์ที่ยากให้ง่ายขึ้น คำอธิบายแก้อรรถบาลี).วิ.อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ อฏฺกถา. อตฺถปุพฺโพ, กถ. กณน, อ, อิตฺถิยํ อา, ตฺถสฺส ฏฺโฐ
  11. อฏฺฐงฺคม : (ปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  12. อฏฺฐงฺคม : (ปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  13. อฏฺฐงฺคมน : (นปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  14. อฏฺฐงฺคมน : (นปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  15. อฏฺฐิกลฺยาณ : นป. ความงามของฟัน
  16. อฏฺฐิสญฺญา : อิต. ความสำคัญในกระดูก
  17. อฏวีสงฺโกป : ป. ความไม่สงบในระหว่างกลุ่มชนชาวป่า
  18. อณฺหตฺต : นป. ความร้อน
  19. อณีกทสฺสน : (นปุ.) ความเห็นของกองทัพ.
  20. อตจฺฉ : ๑. นป. ความไม่จริง ; ๒. ค. ไม่จริง, ไม่แท้
  21. อตฺตกาม : ป. ความรักตน
  22. อตฺตกิลมถานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบาก, การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตน, การทรมาณตนให้ลำบากเปล่า, การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบากเปล่า, อัตกิลมถานุโยคชื่อทางสายหนึ่งในสามสายเป็นสายซ้าย.
  23. อตฺตทตฺถ : ป. ประโยชน์ตน, ความสุขของตน
  24. อตฺตทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าเป็นตน วิ. อตฺตาอิติ ทิฏฺฐิ อตฺตทิฏฺฐิ
  25. อตฺตทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าเป็นตนวิ. อตฺตาอิติทิฏฺฐิอตฺตทิฏฺฐิ.
  26. อตฺตโนมติ : (อิต.) ความคิดของตน, ความเห็นของตน, อัตโนมัติ อัตโนมัติ (ความเห็นส่วนตัว ความเห็นโดยลำพังตน คือ เป็นไปในตัวของมันเอง).
  27. อตฺตภาว : (ปุ.) ขันธปัญจกเป็นแดนเกิดแห่งอัสมิมานะว่าอันว่าตน, กายอันเป็นแดนเกิดแห่งนนามว่าอันว่าตน, ความเป็นแห่งตน, กาย, ร่างกาย, รูป, อัตภาพ (ลักษณะความเป็นตัวตน), อาตมภาพ (อาดตะมะภาพ)เป็นคำพูดแทนตัวพระสงฆ์ซึ่งใช้พูดกับผู้มีศักดิ์, อาตมา (อาดตะมา)เป็นคำแทนตัวพระสงฆ์ตรงกับคำว่าฉันข้าพเจ้าใช้พูดกับคนทั่วไปทั้งชายและหญิง. ส. อาตฺมภาว.
  28. อตฺตมนตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีใจอันปีติและโสมนัสถือเอาแล้ว. ฯลฯ.
  29. อตฺตสญฺญา : (อิต.) ความสำคัญว่าเป็นตน.วิ. อตฺตาอิติ สญฺญา อตฺตสญฺญา.
  30. อตฺตสมฺมาปณิธิ : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งตนโดย-ชอบ, ความตั้งไว้ซึ่งตนโดยชอบ, การตั้งตนไว้ชอบ. วิ. อตฺตโน สมฺมา ปณิธิ อตฺตสมฺมา ปณิธิ. คนไม่มีศิล ได้รับคำสอนแล้วทำตนให้มีศิล คนไม่มีศรัทธาทำตนให้มีศรัทธาคนมีความตระหนี่ทำตนให้ถึงพร้อมด้วยการบริจาคหรือตั้งตนไว้ในกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการชื่อว่า การตั้งตนไว้ชอบ.
  31. อตฺตาธิปเตยฺย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่ยิ่งโดยตน, อัตตาธิปไตย (ปรารภตนเป็นใหญ่, ถือตัวเป็นใหญ่, เห็นแก่ตัว).
  32. อตฺตานุมติ : (อิต.) ความเห็นตามโดยตน, ความรู้ตามโดยตน, อัตตานุมติ(ตามความเห็นของตน)
  33. อตฺถกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องอัน.....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความคำอธิบายซึ่งเนื้อความ, ถ้อยคำแก้อรรถ, อรรถกถาชื่อคัมภีร์ที่ท่านแต่งแก้เนื้อความแห่งพระบาลีพุทธพจน์ที่เข้าใจยากให้ง่ายขึ้น
  34. อตฺถกุสล : ค. ฉลาดในประโยชน์, ฉลาดในเนื้อความ
  35. อตฺถคติ : (อิต.) อันถึงซึ่งเนื้อความ, อรรถคดี(เรื่องที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล).
  36. อตฺถคม : ป. การถึงความเสื่อม, การอัสดงคต (พระอาทิตย์)
  37. อตฺถญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้จักผล, ความเป็นผู้รู้จักผล.
  38. อตฺถตฺต : นป. ความมีผล, ความมีเหตุผล
  39. อตฺถนา : (อิต.) การขอ, การร้องขอ, ความปรถนา, ฯลฯ.อตฺถ ยาจนอิจฺฉาสุ, ยุ. ส.อรฺถนา.
  40. อตฺถปฏิสมฺภิทาญาณ : (นปุ.) ความรู้(ปัญญา)อันแตกฉานในผล, ปัญญาที่แตกฉานในผลทั้งปวงอันเกิดจากเหตุทั้งปวง, ความรู้อันแตกฉานในอรรถ.
  41. อตฺถรูป : (นปุ.) รูปของเนื้อความ, เนื้อความ.คำแปลหลัง รูป เป็นศัพท์สกัด.
  42. อตฺถวณฺณนา : (อิต.) วาทะเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความ, กถาเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนี้อความ, อรรถกถา.
  43. อตฺถา : (อิต.) ความต้องการ, ประโยชน์.อตฺถฺอิจฺฉายํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  44. อตฺถาธิปาย : (ปุ.) การอธิบายซึ่งอรรถ, อธิบายซึ่งอรรถ, อัตถาธิบาย (การขยายความ).
  45. อตฺถาปคม : ป. ความฉิบหายแห่งทรัพย์
  46. อตฺถิก : (วิ.) ผู้มีความต้องการ, ฯลฯ. วิ. อตฺโถอสฺส อตฺถีติ อตฺถิโก อิก ปัจ.
  47. อตฺถิกวนฺต : ค. ผู้มีความต้องการ
  48. อตฺถิภาว : (ปุ.) ความมี, ความเป็น ความเป็นของมี, ความเป็นของเป็น. อตฺถิ+ ตา ปัจ. ศัพท์หลัง วิ. อตฺถิโก ภาโว อตฺถิภา โว. อตฺถิ ลง ก สกัด ลบ ก.
  49. อตฺถี : (วิ.) ผู้มีความปราถนา, ฯลฯ, ผู้ขอ.
  50. อตปฺป : (ปุ.) อตัปปะ (ไม่เดือดร้อน)ชื่อรูปพรมชั้นที่ ๑๓ ชื่อภพเป็นที่อุบัติของอตัปปพรหมชื่อของพรหมผู้ไม่มีความเดือดร้อนใจ.วิ. น ตปฺปนฺตีติอตปฺปา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | [2651-2700] | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3702

(0.1091 sec)