Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเอื้อเฟื้อ, เอื้อเฟื้อ, ความ , then ความ, ความออฟอ, ความเอื้อเฟื้อ, เอื้อเฟื้อ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเอื้อเฟื้อ, 3702 found, display 3401-3450
  1. อาวาสมจฺฉริย : (นปุ.) ความตระหนี่ซึ่งที่อยู่, ความตระหนี่ที่อยู่, ความหวงที่อยู่.
  2. อาวิภาว : ป. ความปรากฏแจ่มแจ้ง, ความปรากฏชัด
  3. อาวิลตฺต : นป. ความรบกวน, ความปั่นป่วน, ความขุ่นมัว
  4. อาวี : อิต. ความเจ็บปวดในการคลอดบุตร
  5. อาเวส : (ปุ.) ความไว้ตัว, ความคลุ้มคลั่ง. วิ. อาเวสนํ อาเวโส. อาปุพฺโพ, วิสฺ ปเวสเน, อ.
  6. อาส : (ปุ.) ความปรารถนา. อสุ อิจฺฉายํ, โณ. ส. อาศํสน อาศํสา.
  7. อาสกตฺต : นป. ความมีอาหาร
  8. อาสงฺก : (ปุ.) ความรังเกียจ, ความระแวง. อาปุพฺโพ, สกิ สงฺกายํ, อ. ส. อาศงฺกา.
  9. อาสงฺกา : อิต. ความสงสัย, ความหวาดระแวง
  10. อาสงฺกี : ค. ผู้มีความสงสัย
  11. อาสงฺค : ๑. ป. ความข้อง, ความคิด; เสื้อผ้า; ๒. ค. ซึ่งประดับตกแต่ง
  12. อาสตฺติ : (อิต.) ความตั้งหน้า, ฯลฯ. ติ ปัจ.
  13. อาสปฺปนา : อิต. การเลื้อยคลานไป, ความสงสัย
  14. อาสภฏฺฐาน : นป. คอกวัว, ตำแหน่งที่มีชื่อเสียง, ความเป็นผู้นำ
  15. อาสยานุสยญาณ : (นปุ.) ญาณอันเป็นไป ด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งฉันทะเป็น ที่มา นอนและธรรมเป็นที่มานอนตาม, ญาณ (ความรู้) ในฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลส อันนอนเนืองของสัตว์ ท., ญาณเป็นเครื่อง รู้ซึ่งฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลสเป็นที่มา นอนตาม, ปัญญาหยั่งรู้ อัธยาศัยและอนุสัย ของสัตว์ท.
  16. อาสวกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นไปแห่งอาสวะ.
  17. อาสวกฺขยญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเหตุยัง อาสวะให้สิ้นไป, ความรู้เป็นเหตุสิ้น อาสวะ, ความรู้ในความสิ้นไปแห่งอาสวะ.
  18. อาสส : ค. ผู้มีความหวัง
  19. อาสสน : นป. ความหวัง, ความประสงค์
  20. อาสสุก : ค. ผู้มีความปรารถนา
  21. อาสา : (อิต.) ชื่อของตัณหา, ตัณหา. อาสา วุจฺจติ ตณฺหา. ไตร ๒๙/๑๑๘. ความหวัง, ความปรารถนา. อิสุ อิจฺฉายํ, อ, อิสฺสา (แปลง อิ เป็นอา). ส. อาศา
  22. อาสาภงฺค : ป. ความหมดหวัง, ความพลาดหวัง
  23. อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
  24. อาสิ อาสี : (อิต.) ความหวังด้วยวัตถุ (เรื่อง) อัน...ปรารถนาแล้ว. อิฏฺฐสฺส วตฺถุโน อาสึสนา. ความหวังดี, การให้พร, อาเศียร. ส. อาศิสฺ แปลง สฺ เป็น รฺ เป็น อาศิร.
  25. อาสึสฏฺฐ : (ปุ.) ความจำนง, ความหวัง, ความปรารถนา. อาปุพฺโพ, สิสฺ ปตฺถนายํ อาสิสิ ปตฺถนายํ วา, โต. ยุ.
  26. อาสึสน : (นปุ.) ความจำนง, ความหวัง, ความปรารถนา. อาปุพฺโพ, สิสฺ ปตฺถนายํ อาสิสิ ปตฺถนายํ วา, โต. ยุ.
  27. อาสึสนา : (อิต.) ความจำนง, ความหวัง, ความปรารถนา. อาปุพฺโพ, สิสฺ ปตฺถนายํ อาสิสิ ปตฺถนายํ วา, โต. ยุ.
  28. อาสึสา : อิต. ความหวัง, ความอยาก
  29. อาหารโลลตา : อิต. ความละโมบในอาหาร
  30. อิกฺขณ อิกฺขน : (นปุ.) การเห็น, การดู, การ แลดู, การเพ่ง, ความแลดู, ความพินิจ, ความรู้, ความกำหนด, เครื่องหมาย, ยุ ปัจ.
  31. อิงฺค : (ปุ.) อาการ, ท่าทาง, ความเคลื่อนไหว, ความอัศจรรย์, ความรู้. อิงฺคฺคติยํ, อ.ส.อิงฺคฺ.
  32. อิจฺจ : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป, ความไป, ฯลฯ. อิ คติยํ, ริจฺโจ.
  33. อิจฺฉ : (นปุ.) ความปรารถนา, ความยินดี, ความเพลิดเพลิน, ความอยาก, ความอยากได้, ความใคร่, ความหวัง, ความต้องการ, ความใส่ใจ. อิสุ อิจฺฉายํ, อ, สุสฺส จฺโฉ (แปลง สุ เป็น จฺฉฺ).
  34. อิจฺฉตา : อิต. ความปรารถนา, ความประสงค์, ความจำนง
  35. อิจฺฉน : นป. ความปรารถนา, ความประสงค์, ความอยาก
  36. อิจฺฉา : (อิต.) อิจฉา ชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความปรารถนา, ฯลฯ. วิ. เอสนํ อิจฺฉา. รูปฯ ๕๘๓. ไทยใช้ อิจฉา เป็นกิริยาใน ความว่า ริษยา. ส. อิจฉา.
  37. อิจฺฉาปกต : ค. ผู้มีความต้องการเป็นปกติ
  38. อิจฺฉาวิฆาต : นป. ความขัดข้องแห่งความปรารถนา, ความไม่สมหวัง
  39. อิชฺฌน : นป., อิชฺฌนา อิต. ความเจริญ, ความรุ่งเรือง, ความสำเร็จ
  40. อิญฺชิต : (นปุ.) ความไหว, ฯลฯ. ต ปัจ. อิ อาคม.
  41. อิญฺชิตตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งความไหว, ฯลฯ.
  42. อิฏฺฐ : ๑. นป., ความอยาก, ความชอบใจ, ความสวยงาม, อารมณ์ที่น่าชอบใจ; ๒. ค. ยินดี, พอใจ, น่ารัก, น่าใคร่, สวยงาม
  43. อิฏฺฐ : (นปุ.) ความพอใจ, ฯลฯ, อิฏฐารมณ์.
  44. อิณปริโภค : (ปุ.) การบริโภคด้วยความเป็น หนี้.
  45. อิตฺตรตา : อิต. ความเป็นของเปลี่ยนแปลง
  46. อิตฺถตฺต : นป. ๑. ภพนี้, ชาตินี้; ๒. สตรีภาพ, ความเป็นหญิง
  47. อิตฺถตฺตา : (อิต.) ความเป็นอย่างนี้, ฯลฯ. ตา ปัจ. ภาวตัท ซ้อน ตฺ.
  48. อิตฺถภาว : (ปุ.) ความเป็นอย่างนี้, ฯลฯ.
  49. อิตฺถมฺภูต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งประการนี้, ถึงแล้ว ซึ่งอาการนี้, ถึงแล้วซึ่งความเป็นอย่างนี้. วิ. อิตฺถํ ภูโต ปตฺโตติ อิตฺถมฺภูโต. คำแปลหลัง วิ. อิตฺถตฺตํ ภูโตติ อิตฺถมฺภูโต. ลบ ตฺต.
  50. อิตฺถิกาม : ป. ความใคร่ในผู้หญิง, ความอยากได้หญิง
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | [3401-3450] | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3702

(0.1237 sec)