Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเอื้อเฟื้อ, เอื้อเฟื้อ, ความ , then ความ, ความออฟอ, ความเอื้อเฟื้อ, เอื้อเฟื้อ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเอื้อเฟื้อ, 3702 found, display 901-950
  1. ทกฺขิณาวิสุทฺธิ : อิต. ความหมดจดแห่งทักษิณา, ความบริสุทธิ์แห่งไทยธรรมที่นำมาถวาย
  2. ทกฺขิเณยฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ควรซึ่งทักษิณา
  3. ทกฺขิเณยฺยสมฺปตฺติ : อิต. ทักขิไณยสมบัติ, ความถึงพร้อมด้วยบุคคลผู้ควรซึ่งทักษิณา
  4. ทกฺเขยฺย : นป. ความเป็นผู้ฉลาดสามารถ, ความชำนาญ
  5. ทฏฺฐภาว : ป. ความเป็นผู้ถูกกัด
  6. ทณฺฑภย : นป. ภัยคืออาชญา, ความกลัวแต่การลงโทษ, การกลัวถูกลงโทษ
  7. ทตฺติย : (วิ.) มีความเป็นของอัน... ให้แล้ว.
  8. ทนฺตตา : อิต. ความเป็นผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ภาวะที่ได้รับการฝึกหัดอบรมแล้ว
  9. ทนฺตภาว : ป. ความเป็นผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ภาวะที่ได้รับการฝึกหัดอบรมแล้ว
  10. ทนฺตสมฺปตฺติ : อิต. ความถึงพร้อมด้วยฟัน, ความถึงพร้อมแห่งฟัน, ความมีฟันเรียบร้อยสวยงาม
  11. ทนฺตาวล : (ปุ.) ช้าง. ทนฺต อา บทหน้า วลฺ ธาตุในความเลี้ยง อ ปัจ. ส. ทนฺตาวล.
  12. ทนฺติ : (อิต.) การทรมาน, การฝึก, การฝึกหัด, การฝึกฝน, ความทรมาน, ฯลฯ. ทมฺ ทมเน, ติ. แปลง มฺ เป็น นฺ หรือแปลง ติ เป็น นฺติ แล้วลบที่สุดธาตุ.
  13. ทนฺธตา : อิต. ความเป็นคนเฉื่อยชา, ความโง่เขลา
  14. ทนฺธาภิญฺญา : อิต. การเข้าใจความได้ช้า, การตรัสรู้ช้า
  15. ทนฺธายนา : อิต. ความประพฤติช้า, ความเชื่องช้า, ความงุ่มง่าม
  16. ทนฺธายิตตฺต : นป. ความเป็นคนเขลา
  17. ทพฺพน : (นปุ.) ความเขลา, ฯลฯ. ทุ. กุจฺฉิต คมเน, ยุ. พฤธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ
  18. ทพฺพา : (อิต.) คุณชาติเป็นเครื่องจำกัดความชั่ว, ความดี. ทพฺพฺ หึสายํ, อ.
  19. ทม : (ปุ.) การทรมาน, การฝึก, การฝึกหัด, การฝึกฝน, การฝึกสอน, การข่ม, การข่มขี่, การข่มใจ, การปราบ, การอดทน, ความทรมาน, ฯ ลฯ , อาชญา, การปรับไหม, ความรอบรู้, ปัญญา. วิ. ทมนํ ทโม. ทมฺ ทมเน, อ. ส. ทม.
  20. ทมถ : (ปุ.) การทรมาน,ฯลฯ,ความทรมาน,ฯลฯ.ทมฺธาตุถหรืออถปัจ.ศัพท์หลังยุปัจคำทรมานแผลงมาจากทมน.
  21. ทมน : (ปุ.) การทรมาน,ฯลฯ,ความทรมาน,ฯลฯ.ทมฺธาตุถหรืออถปัจ.ศัพท์หลังยุปัจคำทรมานแผลงมาจากทมน.
  22. ทยฺย : (ปุ.) คนไทย (เจริญรุ่งเรืองด้วยความดี). ทุ วุฒฒิยํ, โณ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อย ซ้อน ย.
  23. ทยา : (อิต.) ความเอ็นดู, ความอนุเคราะห์, ความรัก, ความรักใคร่, ความกรุณา. วิ. ทยติ ปรทุกขํ อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ ทยา. ทยฺ ทานคติหึสาทานรกฺขาสุ, อ. อธิบายความหมายของศัพท์ ทยา ตามอรรถของธาตุ ให้คือให้อภัยแก่สัตว์ ไป คือ จิตไปเสมอในคนดีคนชั่วและสัตว์เบียดเบียนคือ รบเร้าจิตเตือนให้ช่วยเหลือผู้อื่น. ส. ทยา.
  24. ทยาลุ : ค. มีกรุณามาก, ผู้เปี่ยมด้วยความกรุณา
  25. ทยาลุ พยาลุก : (วิ.) ผู้มีความเอ็นดูเป็นปกติ วิ. ทยา อสฺส. ปกติ ทยาลุ. ผู้มีความอ็นดู มาก วิ. ทยา อสฺส พหุลา ทยาลุ. ผู้มี ความเอ็นดู วิ. ทยา กรุณา ยสฺสตฺถิ โส ทยาลุ. อาลุ ปัจ. พหุลตัท. ศัพท์หลัง ก สกัด. รูปฯ ๕๖๙ ว่า ลง กฺ อาคม. ส.ทยาลุ.
  26. ทร ทรถ : (ปุ.) ความกลัว, ความเจ็บป่วย, ความกระวนกระวาย, ความเร่าร้อน, ทรฺ ภยทาเหสุ, อ, โถ. ทรสทฺโท จ ทรถสทฺโท จ กายทรเถ จิตฺตทรเถ กิเลสทรเถ จ วตฺตนฺติ. อภิฯ.
  27. ทร, ทรถ : ป. ความเร่าร้อน, ความกระวนกระวาย, ความกังวลใจ, ความหวั่นกลัว, ความลำบาก, ความทุกข์
  28. ทลามล : (ปุ.) ต้นไม้. วิ ทลํ อามลติ รฤขตีติ ทลามโล (ทรงคือรักษาความสดชื่นไว้). มลฺ ธารเณ, อ.
  29. ทลิทฺทตา : อิต. ความขัดสน, ความยากจน
  30. ทว : (ปุ.) การเล่น, กีฬา, ความสนุก, ความเฮ ฮา, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. ทวฺ. วิหาเร. อ. ป่า, หมุ่ไม้, ต้นไม้. ทุ คติยํ หึสายํ วา วุทฺธิยํ วา, โณ, เป็น ทวา (อิต.)ก็มีส.ทว,ทาว.
  31. ทวกมฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ใคร่ในการเล่น, ความอยาก, ความขี้เล่น, ความชอบตลก, ความชอบเล่นสนุก
  32. ทวถุ : (ปุ.) ความร้อน, ความร้อนใน, ความกระหาย, ความกระหายน้ำ. ทวฺ ฑาเห, ทุ ปริตาเป วา, ถุ. รูปฯ ๖๔๕ วิ. ทเวน นิพฺพตฺโต ทวถุ ทวฺ ทวเน, ถุ. ส. ทวถุ.
  33. ทวน : (นปุ.) ความร้อน, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  34. ทฺวิตา : (อิต.) ความที่แห่ง....นั้นเป็นของสอง เท่า, ความเป็นของสองเท่า. ทฺวิ+ตา ปัจ. ภาวตัท.
  35. ทฺวิตา, (ทฺวิตฺตา) : อิต. ความเป็นสองเท่า
  36. ทฺวิภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งของสองสิ่ง วิ. ทฺวินฺนํ ภาโว ทฺวิภาโว. ฉ. ตัป.
  37. ทสพลจตุเวสารชฺชาทิสพฺพคุณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) (พระสัพพัญญุตาญาณ) อันประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณทั้งปวงมีญาณแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีกำลังสิบและญาณคือ ความเป็นแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีความครั่นคร้ามไปปราศแล้วสี่เป็นต้น. เป็น ต. ตัป. มี ฉ. ตุล., ฉ.ตัป., ฉ. ตุล., ณฺยปัจ. ภาวตัท., ส.ทิคุ., อว.กัม., อ.ทวัน., วิเสสนบุพ. กัม. ฉ..ตุล. และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน. ลบ ญาณ ทั้งสองศัพท์.
  38. ทสฺสน : (นปุ.) การเห็น, การดู, การแลดู, การเฝ้า (ราชาศัพท์), ความเห็น, ฯลฯ. วิ. ทสฺสียเตติ ทสฺสนํ. ทิส. เปกฺขเณ. ยุ. แปลง ทิส เป็น ทสฺส. และยังแปลว่า โสตาปัตติ-มรรคด้วย อุ. ทสฺสเนน ปาหตพฺพา ธมฺมา. ธรรมท. อันพระโสดาปัตติมรรคพึงประหาณ. ส. ทรฺศน.
  39. ทสฺสนกาม : ค. ผู้มีความใคร่ในการเห็น, ผู้อยากเห็น
  40. ทสฺสนภูมิ : อิต. ภูมิแห่งการเห็น (ด้วยปัญญา), ระดับแห่งความรู้ความเห็น
  41. ทสฺสนสมฺปนฺน : ค. ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยทัศนะ, ผู้มีความรู้ความเห็นอันถูกต้อง
  42. ทสฺสนานุตฺตริย : (นปุ.) ความเห็นอันประเสริฐ, ความเห็นอย่างประเสริฐ.
  43. ทสา : (อิต.) ชายผ้า, ชายครุย, ความเป็นอยู่, ความกำหนด, ระยะกาลของชีวิต. ทา เฉทเน, โส, รสฺโส, อิตฺถิยํ อา. ฉา เฉทเนวา, ฉสฺส โท. ส. ทศา.
  44. ทหณ ทหน : (ปุ.) การเผา,ความร้อน,ไฟ.ทหฺภสฺมีกรเณ,อ,ยุ.ส.ทหน.
  45. ทฬฺหทตฺตี : ค. มีความภักดีมั่นคง, จงรักภักดีเป็นอย่างมาก
  46. ทฬฺหธมฺม : ค. มีธรรมมั่นคง, ขมัง, เรี่ยวแรง, แข็งขัน, ชำนิชำนาญ (ในศิลปศาสตร์บางประการ), มีความสามารถ
  47. ทฬฺหนิกฺกม : ค. มีความเพียรมั่นคง, มีความพยายามเด็ดเดี่ยว
  48. ทฬฺหปรกฺกม : ค. มีความบากบั่นมั่นคง, มีความพากเพียรเด็ดเดี่ยว
  49. ทฬิทฺทิย : (นปุ.) ความจน, ฯลฯ.
  50. ทาตพฺพยุตฺต ทาตพฺพยุตฺตก : (วิ.) อันควร แล้วแก่ความเป็นแห่งทานอันบุคคลพึงให้, อันควรแก่ทานอันบุคคลพึงให้.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | [901-950] | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3702

(0.1323 sec)