Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความสะดวก, สะดวก, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความสะดวก, 3704 found, display 1301-1350
  1. นิพฺพิท : (นปุ.) ความเบื่อ, ฯลฯ. อ. ปัจ.
  2. นิพฺพิทา : (อิต.) ความเบื่อ, ฯลฯ. อ. ปัจ.
  3. นิพฺพิทาญาณ : (นปุ.) ความรู้ในความเบื่อ หน่าย, นิพพิทาญาณ คือความรู้ทำให้ เกิดความเบื่อหน่ายในกองทุกข์.
  4. นิพฺพิริย : ค. ซึ่งขาดวิริยะ, หมดความเพียร, ขี้เกียจ, เชื่องช้า, อ่อนแอ
  5. นิพฺพิสงฺก : ค. ซึ่งหมดความระแวง, ไม่มีความสงสัย, ปราศจากความแคลงใจ; ซึ่งกล้าหาญ, ไม่กลัวเกรง
  6. นิพฺพุต : ค. ซึ่งดับ, เย็น, สงบ; อันปราศจากความอยาก, เงียบ; สุข, สบาย
  7. นิพฺพุติ : (อิต.) นิพพุติ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน คือการออกจากวุติคือตัณหา วิ. วติโต นิกฺขมนํ นิพฺพติ. ความดับ, ความเย็น. นิปุพฺโพ, วุ อุปสเม, ติ.
  8. นิพฺเพธ : (ปุ.) การเจาะ, การเจาะออก, การชำแรก, การแหวก, ความเจาะออก, ฯลฯ, ความบรรลุ, ความตรัสรู้. นิปุพฺโพ, วิธฺ วิชฺฌเน, อ.
  9. นิพฺเพมติก : (วิ.) มีความสงสัยออกแล้ว, ไม่มี ความสงสัย, สิ้นความสงสัย, สิ้นสงสัย, หมดสงสัย.
  10. นิพฺภย : ค. ซึ่งไม่มีภัย, อันไม่มีความกลัว; กล้าหาญ
  11. นิพฺยาปารฏฐติ : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งชีวิต หาการงานมิได้, ความตั้งอยู่แห่งบุคคลผู้ มีความขวนขวายออกแล้ว, ความดำรง ชีวิตอยู่ของคนเกียจคร้าน.
  12. นิภตา : อิต. ความเหมือนกัน, การสมดุลย์กัน; ความปรากฏ; หน้าตารูปร่าง
  13. นิภา : (อิต.) ความรุ่งเรืองโดยหาเศษมิได้, ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสงสว่าง. วิ. นิสฺเสเสน ภาตีติ นิภา. กฺวิ ปัจ. กัจฯ ๖๓๙.
  14. นิมฺมทน : (นปุ.) การย่ำยี, ความย่ำยี. นิปุพฺโพ, มทฺท มทฺทเน, ยุ. ลบ ทฺสังโยค.
  15. นิมฺมนุส : นป. ความไม่มีมนุษย์
  16. นิมล นิมฺมล : (วิ.) มีความมัวหมองออกแล้ว, ไม่มีความมัวหมอง, หมดความมัวหมอง, มีมลทินออกแล้ว, ไม่มีมลทิน, หมดมลทิน, สะอาด, ใส, บริสุทธิ์. ส. นิรฺมล.
  17. นิโมกฺข : ป. ความหลุดพ้น, ความหมดกิเลส, อรหัต, นิพพาน
  18. นิยตมิจฉาทิฎฐก : (ปุ.) บุคคลผู้มีความเห็น ผิดอันดิ่ง.
  19. นิยตมิจฺฉาทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นผิดอัน ดิ่งลงแล้ว, ความเห็นผิดอันดิ่ง.
  20. นิยม : (ปุ.) การกำหนด, การหมายไว้, การจำ ศีล, ความกำหนด, ความแน่นอน, ความพร้อมกัน, ความประพฤติ, ความชอบ, ความนับถือ, วัตร, พรต, พรตที่ประพฤติ ตามกาล. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, อ. คำนิยม ไทยใช้เป็นกิริยา ในความหมายว่า ชมชอบ ชื่นชม ยินดี ยอมรับ นับถือ. ส. นิยม.
  21. นิยเมติ : ก. กำหนด, จำกัด, บังคับ, แสดงความหมาย
  22. นิยฺยาตน : (นปุ.) การคืนของฝากไว้ให้แก่ เจ้าของ, การให้, การมอบให้. นิบทหน้า ยตฺ ธาตุในความมอบให้ ยุ ปัจ.
  23. นิยฺยาส : (ปุ.) ความไหลซึม, ยาง, ยางไม้, เหงือก. วิ. ปสนฺโน หตฺวา นิยสติ ปคฺฆรตีติ นิยฺยาโส. นิปุพฺโพ, ยสุ อายเต, โณ, อถวา, อสุ พฺยาปเน, ยฺอาคโม. ซ้อน ยุ.
  24. นิยฺยูห : (ปุ.) การไหล, การซึม, การไหลซึม, ความไหล. ฯลฯ, ยาง, ยางไม้, เหงือก, ดอกไม้กรองบนศรีษะ, มงกุฎ, ประตู, หลักติดไว้สำหรับแขวนหมวก. โบราณว่า บันไดแก้ว เขมรว่า ไดแก้ว หมายเอาที่ แขวนหมวก. นิปุพฺโพ, อูหฺ วิตกฺเก ปีฑเน วา. อ. ยฺอาคโม, ทฺวิตฺตญจ. ส. นิรฺยูห, นิรฺยฺยูห.
  25. นิยาม : (ปุ.) การกำหนด, ความกำหนด, เหตุ เป็นเครื่องกำหนด, ทาง, หนทาง, มรรค, แบบ, อย่าง, วิธี, ทำนอง. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, โณ. ไทยใช้นิยามเป็นกิริยาใน ความหมายว่า กำหนดหรือจำกัดความหมายที่แน่นอน หรือให้ความหมายอย่าง กะทัดรัด.
  26. นิยุชฺชน นิยุญชน : (นปุ.) การประกอบเข้า, ความประกอบเข้า. นิปุพฺโพ, ยชฺ โยเค, ยุ. ซ้อน ชฺ ศัพท์หลังลงนิคคหิตอาคม.
  27. นิโยค : (ปุ.) การประกอบเข้า, การพยายาม, การยึดถือ, การแต่งตั้ง, ความประกอบเข้า, ฯลฯ, คำสั่ง, แบบแผน. นิปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โณ, ชสฺส โค. ส. โยค.
  28. นิรปราธ : (วิ.) มีความผิดออกแล้ว, ฯลฯ.
  29. นิรเปกฺข : (วิ.) มีความห่วงใยออกแล้ว, ฯลฯ.
  30. นิรย : (ปุ.) ประเทศมีความเจริญออกแล้ว, ประเทศมีความเจริญไปปราศแล้ว, ประเทศไม่มีความเจริญ, ประเทศปราศ จากความเจริญ, ภพไม่มีความเจริญ, ภพไม่มีความสุข, โลกไม่มีความเจริญ, โลกไม่มีความสุข. วิ. อโย อิฏฐผลํ, โส นิคฺคโต อสฺมสติ นิรโย. ร. อาคม. นินฺทิโต รโย คมน เมตฺถาติ วา นิรโย. อภิฯ. นิคฺคโต อโย อสฺมสติ นิรโย. นิคฺคโต อโย ยสฺมาโส นิรโย. นตฺถิ อโย เอตฺถาติ วา นิรโย. รูปฯ ส. นิรย.
  31. นิรยภย : นป. ภัยแต่นรก, ความกลัวแต่นรก
  32. นิรามย : (วิ.) มีความเจ็บไข้ออกแล้ว, มีความป่วยไข้ออกแล้ว, ไม่มีความเจ็บไข้, ไม่มี ความป่วยไข้, ไม่มีโรค, ปราศจากโรค, มีพลานามัยสมบูรณ์, สบาย, เป็นสุข. นิ+อามย รฺ อาคม. ส. นิรามย.
  33. นิราลย : (วิ.) มีความต้องการออกแล้ว, มี ความเยื่อใยออกแล้ว, มีความห่วงใยออก แล้ว, ฯลฯ.
  34. นิราลยตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่มีที่อยู่อาศัย
  35. นิราส : ค. ไม่มีความปรารถนา, ไม่มีความอยาก, หมดหวัง
  36. นิราสงฺก : ค. ปราศจากความสงสัย, ไม่มีความสงสัย
  37. นิราสงฺกตา : อิต. ความเป็นผู้หมดความสงสัย, ความหมดความสงสัย, ความไม่สงสัย
  38. นิราสตฺตี : ค. ผู้หมดความข้อง, ผู้ไม่ติด, ผู้ไม่ข้อง
  39. นิราสว : ค. ผู้หมดอาสวะ, ผู้ไม่มีอาสวะ, ผู้ปราศจากความชั่วช้า
  40. นิราสส : ค. ปราศจากความปรารถนาหรือความหวัง
  41. นิราสาท : ค. ซึ่งไม่มีรส, ซึ่งหมดความสนุกสนาน
  42. นิริย : (ปุ.) ประเทศมีความเจริญออกแล้ว, ฯลฯ. นิ+อย รฺ และ อิ อาคม ดู นิรย ประกอบ.
  43. นิรีหก : (วิ.) มีความเพียรออกแล้ว, ฯลฯ. นิ+อีหา รฺ อาคม ก สกัด.
  44. นิรุตฺติปฏิสมฺภิทา : (อิต.) ปัญญาอันแตกฉาน ด้วยดีโดยต่างในภาษา, นิรุตติปฏิสัมภิทา คือความรู้และความเข้าใจภาษาและรู้จัก ใช้ถ้อยคำให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษา ต่างประเทศ.
  45. นิรุปตาป : ค. ซึ่งไม่มีความเร่าร้อน, ซึ่งไม่มีความกระวนกระวาย
  46. นิรุปธิ : ค. ปราศจากอุปธิ, ไม่มีกิเลสหรือความใคร่, หมดความอยาก
  47. นิโรธธมฺม : (วิ.) มีความดับเป็นธรรมดา.
  48. นิโรธธมฺมตา : อิต. ความเป็นสิ่งมีอันดับไปเป็นธรรมดา
  49. นิโรธธาตุ : อิต. นิโรธธาตุ, ความดับ
  50. นิโรธสญฺญา : อิต. นิโรธสัญญา, ความสำคัญในการดับ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | [1301-1350] | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3704

(0.0697 sec)