Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเคลื่อนไหว, เคลื่อนไหว, ความ , then คลอนหว, ความ, ความคลอนหว, ความเคลื่อนไหว, เคลื่อนไหว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเคลื่อนไหว, 3707 found, display 2301-2350
  1. สปฺปีติก : ค. ประกอบด้วยความอิ่มใจ
  2. สพฺพกามทท : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งความใคร่ทั้งปวง, ผู้ให้ซึ่งสิ่งที่ใคร่ทั้งปวง. วิ. สพฺพกามํ ทโท สพฺพกามทโท.
  3. สพฺพญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมหาส่วนเหลือมิได้, สรรเพชุดา (ออกเสียงว่าสันเพ็ดชุดา). วิ. สพฺพ ฺญฺญุตา. สพฺพ ฺญฺญู+ตาปัจ. รัสสะ อู เป็น อุ. รูปฯ ๓๗๑.
  4. สพฺพฺญฺญุตญาณ สพฺพญฺญุตฺตญาณ : (นปุ.) ความรู้แห่งความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความรู้แห่งความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ญาณแห่งความเป็นพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้. ว. สพฺพฺญฺญุตาย สพฺพฺญฺญุตฺตสฺส วา ญาณํ สพฺพฺญฺญุตญาณํ สพฺพ ฺญฺญุตต-ฺญฺาณํ วา. ศัพท์ต้น รัสสะ อา ที่ ตา เป็น อ. ญาณคือความเป็นแห่งพระสัพพัญญู วิ.สพฺพ ฺญฺญุตา เอว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺญุต ฺญฺาณํ. อถวา, สพฺพ ฺญฺญุตฺตํ เยว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺ-ญุตฺต ฺญฺาณํ.
  5. สพฺภ : (นปุ.) ความดีในสภา, ความสำเร็จในสภา. วิ. สภายํ สาธุ สพฺภํ ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. แปลง ภฺย เป็น พฺภ รูปฯ ๓๖๓.
  6. สภาควุตฺตี : ค. ความประพฤติเสมอกัน
  7. สภาชน : (นปุ.) การแนะนำ, ความพอใจ, ความสุภาพ, ความมีอัธยาศัย, ความเคารพ, ความสมควร, ความถูกต้อง, ความสมเหตุผล. สภาชฺ ปิติทสฺสเนสฺ ปีติวจเนสุ วา, ยุ.
  8. สภาว : (ปุ.) ภาวะของตน, ภาวะแห่งตน, ปกติของตน, ภาวะอันเป็นของมีอยู่แห่งตน, ความเป็นของแห่งตน, ความเป็นของตน, ความเป็นเอง, ความเป็นจริง, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวะ, วิ. สสฺส อตฺตโน สนฺโต สํวชฺชมาโน วา ภาโว สภาโว. สยํ วา ภาโว สภาโว. แปลง สยํ เป็น ส หรือลม ยํ.
  9. สภาวธมฺม : (ปุ.) ความเป็นเอง, สิ่งที่เกิดเอง, สิ่งที่เป็นเอง, หลักแห่งความเป็นเอง, สภาวธัมม์ สภาพธรรม ได้แก่ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒.
  10. สมก : (ปุ.) ธรรมอันยังจิตให้สงบระงับจากอุปกิเลส, ธรรมเป็นเครื่องสงบระงับของจิต, ความสงบระงับของจิต.
  11. สมคฺคี : (ปุ.) ความพร้อมเพรียง, ฯลฯ. อิปัจ.
  12. สมคฺต : (ปุ.) ความพร้อมเพรียง, ฯลฯ, บุคคล ผู้พร้อมเพรียงกัน, ฯลฯ. สม+อา+คมฺ คติยํ, อ. ลบที่สุดธาตุ รัสสะ ซ้อน ค.
  13. สมงฺค : (ปุ.) ความพร้อมเพรียง, ฯลฯ, บุคคลผู้พร้อมเพรียง, ฯลฯ.
  14. สมงฺคิตา : อิต. ความเป็นผู้พร้อมเพรียงกัน
  15. สมงฺคี : (วิ.) ผู้มีความพร้อมเพรียงกัน, ฯลฯ. อีปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  16. สมจฺเฉร : (วิ.) ผู้เป็นไปกับด้วยความตระหนี่, อันเป็นไปกับด้วยความตระหนี่.
  17. สมจริยา : (อิต.) ความประพฤติเรียบร้อย.
  18. สมณ : (นปุ.) ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ.
  19. สมตฺถ : (ปุ.) ความอาจ, ความองอาจ, ความสามารถ, สมตฺฤ สตฺติยํ, อ. สา สตฺติยํ วา, โถ. แปลง อา เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น ม ซ้อน ตฺ.
  20. สมตฺถน : (นปุ.) ความสำเร็จ, ความตกลง, ความสามารถ. ยุปัจ. ส. สมรฺถน., สมรฺถนา.
  21. สมตฺถภาว : (ปุ.) ความสามารถ, สมรรถภาพ.
  22. สมตา : อิต. ความเสมอกัน
  23. สมตึส : (อิต.) สามสืบเสมอ, ความสิบครบ, สมดึงส์.
  24. สมตุล : (นปุ.) ความเสมอกัน, ความเท่ากัน, ความพอดีกัน, ความสมส่วนกัน, สมดุล. สม+ตูล.
  25. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  26. สมน : (นปุ.) ความสงบ, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  27. สมนฺตปาสาทิก : ค. ประกอบด้วยความชอบใจโดยรอบ
  28. สมนุคฺคาห : (ปุ.) การถือเอาพร้อม, ความถือเอาพร้อม, การถือรวบยอด, ความถือรวบยอด.
  29. สมนุญฺญา : อิต. ความเห็นชอบ, ความพอใจ
  30. สมฺปโกป : (ปุ.) ความเคืองเสมอ, ความเคืองมาก, ความเดือดดาลมาก, ความโกรธมาก, สํ ป ปุพฺโพ, กุปฺ โกเป, โณ.
  31. สมฺปคฺคาห : (ปุ.) ความถือเอารวม, มานะเป็นเหตุให้ยกย่อง.
  32. สมฺปชฺชน : (นปุ.) ความถึงพร้อม, ความสมบูรณ์.
  33. สมฺปชญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ทั่วพร้อม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้รอบคอบ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ตัวอยู่เสมอ. วิ. สมฺปชนสฺส ภาโว สมฺปชญฺญํ ณฺย ปัจ.ภาวตัท. ความรู้ทั่วพร้อม, ความรู้รอบคอบ, ความรอบคอบ, ความรู้สึกตัว, ความรู้ตัว, ความรู้ตัวอยู่เสมอ. ณฺย ปัจ. สกัด.
  34. สมฺปตฺติ : (อิต.) คุณชาติอันเขาพึงถึงพร้อม, คุณชาติอันเขาถึงพร้อม, การถึงพร้อม, ความถึงพร้อม, ความดี, ความดีเด่น, ความดีเด่นของสิ่งนั้น ๆ, คุณภาพ, ความมีคุณภาพ, สมบัติ. สํปุพฺโพ, ปทฺคติยํ, ติ, ติสฺส ตฺติ. ทฺโลโป. ส. สมฺปตฺติ.
  35. สมฺปตฺถนา : (อิต.) ความปรารถนาดี.
  36. สมฺปทา : (อิต.) คุณชาติเป็นเครื่องถึงพร้อม, การถึงพร้อม, ความถึงพร้อม, ความดี, ฯลฯ, ความเจริญ, สมบัติ. วิ. สมฺปชฺชติ เอตายาติ สมฺปทา สมฺปชฺชนํ วา สมฺปทา.
  37. สมฺปสาท : ป. ความเลื่อมใส, ความชื่นใจ, ความแจ่มใส
  38. สมฺปหสน : (นปุ.) ความร่าเริงทั่วพร้อม, ความรื่นเริงทั่วพร้อม, ความร่าเริงเต็มที่, ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความยินดี, ความยกย่อง. สํ ป ปุพฺโพ, หํส ปีติยํ, ยุ, อ.
  39. สมฺปหสนา สมฺปหสา : (อิต.) ความร่าเริงทั่วพร้อม, ความรื่นเริงทั่วพร้อม, ความร่าเริงเต็มที่, ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความยินดี, ความยกย่อง. สํ ป ปุพฺโพ, หํส ปีติยํ, ยุ, อ.
  40. สมฺปาท : (ปุ.) ความสำเร็จ, การตกแต่ง.
  41. สมฺปิณฺฑน : (นปุ.) การรวบรวม, การประมวล, ความประมวล. สำปุพฺโพ, ปิฑิ สงฺฆาเต, ยุ.
  42. สมฺผสฺส : (ปุ.) การถูกต้องด้วยดี, การถูกต้อง, การกระทบ, การกระทบกัน, การลูบคลำ, ความถูกต้อง, ฯลฯ. สํปุพฺโพ, ผุส. สมฺผสฺเส, อ. ผุสสฺส ผสฺโส.
  43. สมฺผสฺสชาเวทนา : (อิต.) ความเสวยอารมณ์อันเกิดจากสัมผัส, ความเสวยอารมณ์ที่เกิดจากสัมผัส.
  44. สมฺพนฺธ : (ปุ.) การผูกพร้อม, การผูกด้วยดี, การผูกพัน, การติดต่อกัน, การเกี่ยวเนื่องกัน, ความผูกพัน, การติดต่อกัน, การเกี่ยวเนื่องกัน, ความผูกพัน, ฯลฯ, สัมพันธ์. สํปุพฺโพ, พนฺธฺ พนฺธเน, อ.
  45. สมฺพรี : (อิต.) การลวง, การล่อลวง, การเล่นกล, ความลวง, ความล่อลวง. วิ. มายา เอว สมฺพโร ตสฺสายนฺติ สมฺพรี. ณี ปัจ.
  46. สมฺพุชฺฌน : (นปุ.) ความรู้พร้อม, ความรู้ด้วยดี, ความบรรลุ, ความตรัสรู้. สํปุพฺโพ, พุธ อวคมเน. ยุ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ขฺฌ ยุ เป็น อน.
  47. สมฺโพชฺฌ : (ปุ.) ความรู้พร้อม, ฯลฯ, ธรรมเป็นเครื่องบรรลุ, ธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้ ณ ปัจ.
  48. สมฺโพธน : นป. การตรัสรู้ชอบ, ความรู้ชอบ
  49. สมฺโพธิ : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ, ปัญญาชื่อสมโพธิ, ความตรัสรู้โดยชอบ, ความตรัสรู้เอง, ความตรัสรู้พร้อม, ความตรัสรู้, อิ ปัจ.
  50. สมฺภวน : นป. ความมี, ความเป็น, ความเจริญ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | [2301-2350] | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3707

(0.1226 sec)