Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเคลื่อนไหว, เคลื่อนไหว, ความ , then คลอนหว, ความ, ความคลอนหว, ความเคลื่อนไหว, เคลื่อนไหว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเคลื่อนไหว, 3707 found, display 2801-2850
  1. อนาทร : (วิ.) ไม่เอื้อเฟื้อ, ไม่เอาใจใส่, ไม่พะวงไม่นำพา, เฉยเมย, เกียจคร้าน, คร้าน, เบียดเบียน, รบกวน, ดูถูก, ดูหมิ่น, ดูแคลนไม่เห็นแก่กัน, อนาทร (อะนาทอน) ไทยใช้ในความหมายว่าเป็นทุกข์เป็นร้อนร้อนอกร้อนใจ.น+อาทร.
  2. อนาทรตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่เอื้อเฟื้อ
  3. อนาทาน : ค. ไม่มีความยึดมั่นถือมั่น
  4. อนาปตฺติ : (นปุ.) ความไม่มีแห่งอาบัติวิ. อาปตฺติยาอภาโวอนาปตฺติ.
  5. อนามย : (วิ.) มิใช่คนเจ็บไข้, ไม่มีความเจ็บไข้, มิใช่ความเจ็บไข้, สุข, สบาย, สุขสบาย, เป็นสุข.
  6. อนายูหน : นป. ความไม่พยายาม, ความไม่ขวนขวาย
  7. อนาลย : (วิ.) ไม่มีความห่วงใย, ไม่มีความกังวล
  8. อนาวฏทฺวารตา : (อิต.) ความเป็นแห่งตนผู้มีประตูอัน-ปิดแล้วหามิได้, ความเป็นคนไม่ปิดประตู (ยินดีต้อนรับ).น+อาวฎ+ทฺวาร+ตาปัจ.
  9. อนาวร : (วิ.) หาความขัดข้องมิได้, ไม่มีความขัดข้อง.
  10. อนาสกตฺต : นป. ความเป็นผู้อดอาหาร
  11. อนาสกา : (อิต.) ความไม่กิน.น+อาสกา.
  12. อนิฆ : ค. ไม่มีทุกข์, ไม่มีความคับแค้นใจ
  13. อนิจฺจ : (วิ.) มีความเที่ยงหามิได้, มีความมั่นคงหามิได้, มีความแน่นอนหามิได้, มีความยั่งยืนหามิได้, ไม่มีความเที่ยง, ฯลฯ, ไม่เที่ยงฯลฯ.ส.อนิตฺย.
  14. อนิจฺจกมฺม : (นปุ.) กรรมคือความไม่เที่ยง, ฯลฯ.ไทยอนิจกรรม ว่า ตายความตาย.
  15. อนิจฺจตา : (อิต.) ความเป็นของไม่เที่ยง, ฯลฯ.
  16. อนิจฺจลกฺขณ : (วิ.) มีความไม่เที่ยงเป็นเครื่องหมาย
  17. อนิจฺฉา : อิต. ความไม่ปรารถนา
  18. อนิญฺชน : นป. ความไม่หวั่นไหว
  19. อนิฏฺฐงฺคต : ค. ไม่ถึงความตั้งอยู่ได้
  20. อนิยต : (วิ.) ไม่มีความเที่ยง, ไม่มีความแน่นอน, ไม่เที่ยง, ไม่แน่นอน.ส.อนิยต.
  21. อนิยม : (วิ.) มิใช่ความกำหนด, มิใช่ความแน่นอน, มิใช่ความชอบ, อนิยม (ไม่ต้องด้วยกฎหรือแบบแผน นอกแบบ).ส.อนิยม.
  22. อนีฆ : (วิ.) ไม่มีทุกข์, ไม่มีความยาก, ไม่มีความยากแค้น.
  23. อนุกฺกณฺฐน : นป. ความไม่กระสัน, ความไม่กระวนกระวาย, ความพอใจ
  24. อนุกมฺปก : (ปุ.) มิตรมีความเอ็นดู, มิตรมีความรักใคร่.
  25. อนุกมฺปก, อนุกมฺปี : ค. ผู้มีความเอ็นดู, ผู้มีเมตตา
  26. อนุกมฺปน : นป. อนุกมฺปา อิต. ความเอ็นดู, ความเมตตา, ความสงสาร
  27. อนุกมฺปา : (อิต.) ความไหวตาม, ฯลฯ.วิ.อนุปุนปฺปุนํกมฺเปติอตฺตาธารสฺสจิตฺตนฺติอนุกมฺปา.อนุปุพฺโพ, กมฺปฺ จลเน, อ, อิตฺถิ-ยํอา.ส.อนุกมฺปา.
  28. อนุกมฺปี : (วิ.) มีความไหวตาม, ฯลฯ.อิปัจ.ตทัสสัตถิตัท.
  29. อนุกมอนุกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปตาม, การก้าวไป, ความก้าวไป, ฯลฯ, สาย, กระบวน, แบบ, ลำดับ.วิ.อนุรูโปกโมอนุกโมอนุกฺกโมวา.ส. อนุกรฺม
  30. อนุกม อนุกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปตาม, การก้าว ไป, ความก้าวไป, ฯลฯ, สาย, กระบวน, แบบ, ลำดับ. วิ. อนุรูโป กโม อนุกโม อนุกฺกโม วา. ส. อนุกรฺม
  31. อนุกุลภาว : ป. ความเกื้อกูล, ความอารี
  32. อนุกุลอนุกูล : (นปุ.) การอนุเคราะห์, การช่วยเหลือ, การเกื้อกูล, ความอนุเคราะห์, ฯลฯความโอบอ้อมอารี, ความเอื้อเฟื้อ, ความกรุณา.ส. อนุกูล.
  33. อนุกุล อนุกูล : (นปุ.) การอนุเคราะห์, การช่วย เหลือ, การเกื้อกูล, ความอนุเคราะห์, ฯลฯ ความโอบอ้อมอารี, ความเอื้อเฟื้อ, ความกรุณา. ส. อนุกูล.
  34. อนุคฺคห : (ปุ.) อันถือตาม, การอนุเคราะห์, ฯลฯความอนุเคราะห์, ฯลฯ, ความโอบอ้อมอารี.ส. อนุคฺรห.
  35. *อนุคฺฆาเฏติ : ก. เปิด, ไม่ปิด, แก้ออก *ของ P.T.S.D. มีความหมายตรงข้ามแปลว่าปิด, มัด โดยแยกศัพท์เป็น น+อุคฺฆาเฏติ
  36. อนุคิทฺธ : (ปุ.) ความติดใจตาม, ความตามติดใจ, ความติดใจ.
  37. อนุช : (ปุ.) ชนผู้เกิดในภายหลัง, น้อง, น้องชายวิ.อนุ ปจฺฉาชาโต อนุโช. อนุปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ. รูปฯ ๕๗๐ ใช้ ปจฺฉาแทนอนุ.วิ.ปจฺฉาชาโต อนุโช.ในคำประพันธ์ไทยตัดอออกเป็นนุช (นุต)ใช้ในความหมายว่าน้องน้องสาว หรือหญิงคู่รัก.ส. อนุช.
  38. อนุชีวิต : นป. ความมีชีวิตอยู่
  39. อนุชุ : (วิ.) ไม่มีความตรง, มิใช่ตรง, ไม่ใช่ตรง, คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด, ชั่ว.วิ.นตฺถิ อุชุตายสฺส โสอนุชุ.
  40. อนุญฺญาต : (วิ.) รู้ตามแล้ว, ตามรู้แล้ว, อนุญาตแล้ว.อนุญาตไทยใช้ในความหมายว่ายินยอม, ยอมให้, ยกให้, ตกลง.
  41. อนุญฺญาตตฺต : นป. ความเป็นผู้ได้รับอนุญาต
  42. อนุญฺาต : (วิ.) รู้ตามแล้ว, ตามรู้แล้ว, อนุญาต แล้ว. อนุญาต ไทยใช้ในความหมายว่า ยินยอม, ยอมให้, ยกให้, ตกลง.
  43. อนุฏฺฐาน : นป. ความไม่ลุกขึ้น, ความขี้เกียจ
  44. อนุฏฺฐุภ : (นปุ.) ความเดือดร้อนภายหลัง, ความเดือดร้อนในภายหลัง, ความเดือดร้อน, ความรำคาญ.
  45. อนุตฺตรสมฺมาสมฺโพธิญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบอย่างยิ่ง, ญาณเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบอย่างยิ่ง.
  46. อนุตฺตราสีอนุตฺราสี : (วิ.) มีความสะดุ้งหามิได้, ไม่มีความสะดุ้ง, ไม่มีความหวาดเสียว, ไม่สะดุ้ง, ไม่กลัว, ไม่หวาด, ไม่หวาดเสียว.
  47. อนุตฺตราสี อนุตฺราสี : (วิ.) มีความสะดุ้งหามิได้, ไม่มีความสะดุ้ง, ไม่มีความหวาดเสียว, ไม่ สะดุ้ง, ไม่กลัว, ไม่หวาด, ไม่หวาดเสียว.
  48. อนุตาป : ป. ความเร่าร้อน, ความเดือดร้อน, ความรำคาญใจ
  49. อนุทฺทยตา : อิต. ความเป็นผู้เอ็นดู
  50. อนุทฺทยา : อิต. ความเอ็นดู, ความเอื้อเฟื้อ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | [2801-2850] | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3707

(0.1331 sec)