Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเคลื่อนไหว, เคลื่อนไหว, ความ , then คลอนหว, ความ, ความคลอนหว, ความเคลื่อนไหว, เคลื่อนไหว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเคลื่อนไหว, 3707 found, display 3001-3050
  1. อภิกงฺขา : (อิต.) ความอยากจัด, ความกำหนัด, ความยินดี, ความรักใคร่.อภิปุพฺโพ, กขิอิจฺฉายํ, อ.
  2. อภิคิชฺฌน : นป. ๑. ความปรารถนา ; ๒. ความกำหนัด ; ๓. ความริษยา
  3. อภิชฺฌา : (อิต.) อภิชฌาชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ, ความอยากได้, ความทะเยอทะยาน, ความกระวนกระวาย, ความปรารถนาอย่างแรงกล้า, ความเพ่งเฉพาะ, ความปรารถนา.วิ.ปรสมฺปตฺตีอภมุขํกตฺวาฌายตีติอภิชฺฌา.ส. อภิขฺยา.
  4. อภิชฺฌาวิสมโลภ : (ปุ.) ความโลภมีส่วนเสมอไปปราศแล้วด้วยความเพ่งเล็ง, ความโลภมีส่วนเสมอไปปราศแล้วด้วยสามารถแห่งความเพ่งเล็งหมายความว่า อยากได้ไม่เลือกทางอาจปล้น ฆ่า ชิงทรัพย์ ฯลฯขอให้ได้เป็นเอาทั้งนั้น.
  5. อภิชปฺปน : นป. ๑. ความอยาก, ความปรารถนา; ๒. การกล่าว
  6. อภิชปฺปา : (อิต.) ความที่จิตปรารถนา, ความปรารถนายิ่ง.อภิปุพฺโพ, ชปฺมานเส, อ, ทฺวิตฺตํ.
  7. อภิชาตอภิชาตปุตฺต : (ปุ.) คนมีตระกูล, บุตรชั้นสูง, อภิชาตบุตร (ลูกผู้เกิดมามีความรู้ความสามารถและความประพฤติดีสูงกว่าตระกูล).
  8. อภิชาต อภิชาตปุตฺต : (ปุ.) คนมีตระกูล, บุตร ชั้นสูง, อภิชาตบุตร (ลูกผู้เกิดมามีความรู้ ความสามารถและความประพฤติดีสูงกว่า ตระกูล).
  9. อภิชาติตา : อิต. ความเป็นผู้เกิด, การถือปฏิสนธิ; จำความ
  10. อภิชาน, อภิชานน : นป. ความจำได้, การรู้ยิ่ง
  11. อภิชีหนา : อิต. ความอุตส่าห์, ความพยายาม
  12. อภิญฺญตา : อิต. ความเป็นผู้มีความรู้ยิ่ง, ผู้เชี่ยวชาญ
  13. อภิญฺญา : (อิต.) ความรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง, ความตรัสรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง, ปัญญาอันบุรุษพึงรู้ยิ่ง, ปัญญาเครื่องรู้ยิ่ง, ความรู้ยิ่ง, ความฉลาด, ปัญญา, กฏหมาย.
  14. อภิญฺญาณ : (นปุ.) ความรู้ยิ่ง, ความรู้อย่างสูง, เครื่องหมาย, รอย.
  15. อภิฐาน : (นปุ.) ฐานยิ่ง, ฐานะอย่างหนัก, อภิฐานะชื่อของความผิดสถานหนักมี๖อย่างคืออนันตริยกรรม๕ การปฏิญญาณรับถือศาสนาอื่นในขณะที่ครองเพศบรรพ-ชิตเป็นข้อที่ ๖.
  16. อภิณฺหปจฺจเวกฺขณ : (นปุ.) การพิจารณาเนือง ๆ, ฯลฯ.อภิณหปัจจเวกขณะชื่อธรรม หมวดหนึ่งซึ่งทรงสอนให้พิจารณาทุกวัน ๆเพื่อให้รู้ตามความเป็นจริงมี ๕ ข้อ.
  17. อภิตาป : ป. ความร้อนยิ่ง, ความแผดเผา
  18. อภิถุตอภิตฺถุต : (ปุ.) ความเริ่มแห่งราตรี, ความเริ่มต้นแห่งราตรี, พลบ, พลบค่ำ, เวลาเย็น.วิ.โทสายรตฺติยาอารมฺโภอภิโทโส.อถวาอภิทุสฺสนฺติสพฺพกมฺมานีติอภิโทโส
  19. อภิถุต อภิตฺถุต : (ปุ.) ความเริ่มแห่งราตรี, ความเริ่มต้นแห่งราตรี, พลบ, พลบค่ำ, เวลาเย็น. วิ. โทสาย รตฺติยา อารมฺโภ อภิโทโส. อถวา อภิทุสฺสนฺติ สพฺพกมฺมานีติ อภิโทโส
  20. อภิธมฺมตฺถสงฺคห : (นปุ.) ปกรณ์เป็นที่ย่อเข้าถือเอาซึ่งเนื้อความอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วในพระอภิธรรม.
  21. อภินนฺทน : (นปุ.) ความชื่นชม, ความยินดี, ความยินดียิ่ง, ความชอบใจ, ความชอบใจยิ่ง.ส.อภินนฺท.
  22. อภินนฺทนา : (อิต.) ความชื่นชม, ความยินดี, ความยินดียิ่ง, ความชอบใจ, ความชอบใจยิ่ง.ส.อภินนฺท.
  23. อภินนฺทนาการ : (ปุ.) การทำด้วยความยินดียิ่ง, ความยินดียิ่ง.คำแปลหลังนี้การ เป็นศัพท์สกัด.
  24. อภินนฺทิต : กิต; นป. ความยินดี, ความบันเทิง
  25. อภินิปฺผตฺติ : อิต. การผลิต, ความสำเร็จ
  26. อภินิพฺพตฺติ : (อิต.) ความบังเกิดยิ่ง, ความบังเกิด.
  27. อภินิพฺพิทา : อิต. ความเบื่อหน่ายโลก
  28. อภินิโรปน : (นปุ.) การยกขึ้นเฉพาะ, ความยกขึ้นเฉพาะ, การยกขึ้น, ความยกขึ้น.
  29. อภินิโรปนา : (อิต.) การยกขึ้นเฉพาะ, ความยกขึ้นเฉพาะ, การยกขึ้น, ความยกขึ้น.
  30. อภินิเวส : ป. ความยึดมั่น, ความโน้มน้าว, ความประสงค์
  31. อภินีหาร : ป. ๑. การนำออก; ๒. ความปรารถนาที่ตั้งใจจริง
  32. อภิบทฺทน : (นปุ.) การข่มเหง, การย่ำยี, การเหยียบย่ำ.อภิบทหน้ามทฺทธาตุในความเหยียบเป็นต้นยุปัจ.
  33. อภิปฺปโมท : ป. การบันเทิง, ความปราโมทย์ยิ่ง
  34. อภิปฺปสาท : ป. ความเลื่อมใส, ความเชื่อถือ
  35. อภิปูรณต : นป. ความเต็ม, ความสมบูรณ์
  36. อภิภวน : (นปุ.) การครอบงำ, การกดขี่, ความครอบงำ, ความกดขี่.
  37. อภิภวนียตา : อิต. ความเป็นผู้อันใครๆ พึงครอบงำได้
  38. อภิภายตน : นป. ฐานะหรือภาวะแห่งความมีอำนาจเหนือ
  39. อภิภาสน : นป. การตรัสรู้, ความแจ่มแจ้งในใจ, ความดีใจ
  40. อภิโยคี : ป. ผู้ปฏิบัติ, ผู้ประกอบความเพียร, ผู้ใคร่ครวญ
  41. อภิโยพฺพน : นป. ความเป็นหนุ่มสาวยิ่ง
  42. อภิรตตฺต : นป. ความเป็นผู้ยินดียิ่ง, ความเป็นผู้ชอบใจยิ่ง
  43. อภิรติ : (อิต.) ความยินดียิ่ง, อภิรตี, อภิรดี.ส. อภิรติ.
  44. อภิรทฺธิ : อิต. ความพอใจ, ความยินดียิ่ง
  45. อภิรมน : นป. ความอภิรมย์, ความยินดียิ่ง
  46. อภิรมาปน : นป. ความให้ยินดียิ่ง, ความให้เพลิดเพลิน
  47. อภิรุ : (วิ.) ไม่มีความขลาด, ไม่ขลาด, ไม่กลัว.
  48. อภิรุจิ : อิต. ความยินดี, ความพอใจ, ความปรารถนา
  49. อภิโรปน : (นปุ.) การบำรุง, ความบำรุง.
  50. อภิลกฺขิตตฺต : นป. ความเป็นคืออันกำหนด, ความตั้งใจไว้
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | [3001-3050] | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3707

(0.1251 sec)