Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเคลื่อนไหว, เคลื่อนไหว, ความ , then คลอนหว, ความ, ความคลอนหว, ความเคลื่อนไหว, เคลื่อนไหว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเคลื่อนไหว, 3707 found, display 3201-3250
  1. อสญฺญี : ค. ไม่มีสัญญา, ไม่มีความจำได้, ไม่มีความรู้สึก
  2. อสทฺธ : ค. ไม่มีศรัทธา, ไม่มีความเชื่อ
  3. อสทน : ปน., ค. ความไม่อดทน, ความไม่อดกลั้น ; ไม่มีความเพียร
  4. อสนฺตุฏฺฐ : ค. ไม่สันโดษ, ซึ่งไม่มีความพอใจในของของตน
  5. อสนฺตุฏฺฐิ, - ฐิตา : อิต. ความไม่สันโดษ, ความไม่ความพอใจในของที่ตนมีอยู่
  6. อสนฺทิฏฺฐิปรมาสี : ค. ผู้ไม่ลูบคลำทิฐิของตน, ผู้ไม่ยึดถือความเห็นของตน
  7. อสนฺทิฑฺฒ, - ทิทฺธ : ค. ไม่ตกอยู่ในความสงสัย, ไม่แคลงใจ
  8. อสนฺโทสธมฺม : ค. ผู้ไม่มีความโกรธเป็นธรรมดา
  9. อสนฺธิตา : อิต. ความไม่สืบเนื่องกัน
  10. อสปฺปาณกสญฺญี : ค. ผู้มีความสำคัญว่าไม่มีสัตว์มีชีวิต, มีความสำคัญว่าไม่มีตัวสัตว์
  11. อสภาควุตฺติ : (อิต.) ความประพฤติไม่สมควร.
  12. อสมฺปกมฺปิ, - ปิย : ค. ไม่ถูกทำให้หวั่นไหว, ไม่ถูกทำให้เคลื่อนไหว
  13. อสมฺปชญฺญ, - ชาน : ค. ไม่มีสัมปชัญญะ, ไม่มีสติความระลึกได้
  14. อสมฺมุฏฺฐ : อิต. ความไม่หลงลืม, ความมีสติ
  15. อสมฺโมส, - โมห : ป. ความไม่หลงลืม, ความมีสติ, ความไม่หลงงมงาย
  16. อสมาธิสวตฺติก : (วิ.) ไม่เป็นไปในสมาธิ, ไม่เป็นไปเพื่อความสงบจิต.
  17. อสมิทฺธิ : อิต. ความไม่สำเร็จ, ความไม่เจริญ
  18. อสฺมิมาน : (ปุ.) มานะว่า อ. เรามีอยู่, มานะว่าอ. เราเป็น, มานะว่าเรามีอยู่, มานะว่าเราเป็น, การถือว่าเราเป็นนั่นเป็นนี่, การถือตัว, การถือเราถือเขา, ความถือตัว, ความสำคัญว่ามีตัวตน, อัสมิมานะ.
  19. อสฺสทฺธ : ค. ไม่มีศรัทธา, ไม่มีความเชื่อ
  20. อสฺสทฺธิย : นป. ความเป็นผู้ไม่มีศรัทธา
  21. อสฺสม : (ปุ.) ประเทศเป็นที่มารำงับความโกรธ.วิ. อา โกธํสเมนฺติเอตฺถาติอสฺสโม.ประเทศเป็นที่ยังราคาทิกิเลสให้ระงับวิ.อาภุโสสเมนฺติ ราคาทโย เอตฺถาติ อสฺสโม.อาปุพฺโพ, สมุ อุปสเม, อ, อาสฺสรสฺโส, สสฺสทฺวิตฺตํ.อาศรม (ที่อยู่ของฤาษี ที่อยู่ของนักพรต) วิ. มุนีนํอิสีนํวสนฏฺฐานํอสฺสโมนาม. บุคคลผู้ประพฤติพรหมจรรย์พรหมจารีบุคคล.ส.อาศฺรม.
  22. อสฺสมปท : (นปุ.) สถานที่เป็นที่ไปของบุคคลผู้ระงับความโกรธ, ฯลฯ, อาศรมบท.
  23. อสฺสวณตา : อิต. ความไม่เชื่อฟัง
  24. อสฺสาชาเนยฺย : (ปุ.) ม้าผู้อาจในอันรู้ซึ่งเหตุพลันม้าผู้อาจในความรู้ซึ่งเหตุและสิ่งมิใช่เหตุโดยยิ่ง, ม้าอาชาไนย.
  25. อสฺสาท : (ปุ.) ความยินดี, ความสำราญ, ความเพลิน, ความเพลิดเพลินความชอบใจ.
  26. อสฺสาทน : (นปุ.) ความยินดี, ความสำราญ, ความเพลิน, ความเพลิดเพลินความชอบใจ.
  27. อสฺสาลี : ค. กลับฟื้น, สดชื่น, มีความสุข
  28. อสฺสาสก : ค. อันนำมาซึ่งความสบายใจ
  29. อสฺสิต : ค. อาศัยอยู่, เนื่องอยู่, ได้รับความอุดหนุน
  30. อสฺสิรี : ค. ไม่มีสิริ, ไม่มีศรี, ไม่มีความรุ่งเรือง
  31. อสาขลฺย : นป. ความไม่มีเพื่อน, ความไม่เป็นเพื่อน
  32. อสาเฐยฺย : นป. ความไม่มีมายาสาไถย, ความไม่มีเล่ห์เหลี่ยม, ความไม่โอ้อวด, ความไม่โกง
  33. อสาต : ๑. นป. ความทุกข์, ความเจ็บปวด ; ๒. ค. ไม่เป็นที่พอใจ, ไม่สบอารมณ์
  34. อสาธุ : (ปุ.) ความไม่ดี, คนไม่ดี.ส.อสาธุ.
  35. อสามญฺญ : ค. ไม่มีส่วนแห่งสามัญญผล, ไม่มีส่วนแห่งความเป็นสมณะ
  36. อสาราค : ป. ไม่มีราคะ, ไม่มีความกำหนัดยินดี
  37. อสิโลกภย : (นปุ.) ภัยแห่งความติเตียน.
  38. อสุจีก : นป. ความไม่บริสุทธิ์สะอาด, กิเลสเครื่องเศร้าหมอง
  39. อสุทฺธิ : (อิต.) ความไม่สะอาด, ความไม่หมดจดความไม่ผ่องแพ้ว, ความไม่ผุดผ่อง, ความสกปรก.
  40. อสุภกถา : อิต. กถาอันว่าด้วยความไม่สะอาด, ถ้อยคำพรรณนาถึงสิ่งที่น่าเกลียด
  41. อสุภสญฺญา : (อิต.) ความสำคัญว่าไม่งาม, ฯลฯ.วิ. อสุภาอิติสญฺญาอสุภญฺญา.
  42. อสุร : (ปุ.) สัตว์ผู้ไม่รุ่งโรจน์ในความเป็นอยู่, อมนุษย์, มาร, ปีศาจ, อสูร (อมนุษย์พวกหนึ่งซึ่งเป็นข้าศึกแก่เทวดา).
  43. อสุโรป : ป. ความไม่สุภาพ, ความกระด้าง, ความโกรธเคือง
  44. อโสก : (วิ.) ผู้ไม่มีความโศก, ผู้ไม่โศก.ส.อโศก
  45. อโสตต : นป. ความเป็นผู้ไม่มีหู
  46. อหการอหงฺการ : (ปุ.) ความถือตัว, ความทะนงตัว, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, ความถือเรา, อติมานะ, อภิมานะ. วิ. อหมิติอตฺตานํกโรติ เยน โสอหํกาโรอหงฺกาโรวา.อหํปุพฺโพ, กรฺกรเณ, โณ.อภิฯลงอปัจส.อหงฺการ.
  47. อหมหมิกา : (อิต.) ความหยิ่ง, ความจองหอง, ความอหังการ.โบราณแปลว่าอภิมานะเป็นที่กระทำว่าเราว่าเรา.อหํอหํศัพท์อิกปัจ.วิ. อหํอคฺโคภวามิอหํอคฺโคภวามี-ติอหมหมิกา.
  48. อหาส : ป. ความไม่ร่าเริง, ความไม่ยินดี
  49. อหิริก : (ปุ.) คนหมดความละอาย, คนหมดความละออายใจ, คนหมดความขยะแขยงในการทำทุจริตต่าง ๆ, สภาพที่ไม่ละอายแก่อกุศลทุจริต.
  50. อหึสา : (อิต.) ความไม่เบียดเบียน, อหิสา.ส. อหึสาอหิงฺสา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | [3201-3250] | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3707

(0.1451 sec)