ปฏิปทา : อิต. ปฏิปทา, ข้อปฏิบัติ, แนวทางความประพฤติ, ทางปฏิบัติ
ปฏิปฺปสฺสทฺธิ : อิต. ความสงบระงับ, ความสงบเยือกเย็นภายในจิตใจ
ปฏิปูชน : นป., - ชนา อิต. การบูชาตอบ, ความเคารพนับถือ, การยกย่อง
ปฏิพทฺธจิตฺต : ค. มีจิตปฏิพัทธ์, มีใจผูกพัน; มีความรักใคร่เกิดขึ้น
ปฏิพนฺธุ : ป. ความเกี่ยวข้อง, ความพัวพัน; พวกพ้อง, ญาติ
ปฏิภาค : ค., ป. มีส่วนเปรียบได้, ซึ่งเปรียบเทียบกันได้, ซึ่งคล้ายคลึง, เท่ากัน; คนทัดเทียม, ศัตรู, ความเหมือนกัน; ความคล้ายคลึงกัน; คำตอบ
ปฏิภาณ, - ภาน : นป. ปฏิภาณ, ไหวพริบ, ความสามารถพูดโต้ตอบได้ฉับไว, ความเฉียบแหลม, ความแจ่มแจ้ง
ปฏิมุจฺจติ : ก. ประสพ, ได้รับ (ความเศร้าโศก)
ปฏิมุญฺจติ : ก. สวม, สวมใส่, ผูก, มัด; ประสพ, ได้รับ (ความเศร้าโศก)
ปฏิรูปตา : อิต. ความเหมาะสม, ความสมควร; ความคล้ายคลึง, การแสร้งทำให้เหมือนจริง
ปฏิวิโรธ : ป. ความมุ่งร้าย, ความขัดเคือง, ความผิดใจกัน, ความขัดแย้งกัน
ปฏิสมฺภิทา : อิต. ปฏิสัมภิทา, ความแตกฉาน, ปัญญาอันแตกฉาน
ปฏิสลฺลานาราม : ค. ผู้มีการหลีกเร้นเป็นที่มายินดี, ผู้มีความพอใจในการหลีกเร้น
ปฏิสฺสติ : อิต. สติมั่นคง, ความระลึกได้, ความจำได้
ปฏิสฺสา, (ปติสฺสา) : อิต. ความเชื่อฟัง, ความเคารพ
ปฏิสารณ : นป. การให้หวนระลึกถึงความผิด, การให้ยอมรับผิด, การให้แก้ความผิดด้วยการขอคืนดี
ปฏิเสนิกตฺตุ : ป. ผู้กระทำความเป็นข้าศึก, ผู้ตั้งต้นเป็นศัตรู, ผู้สร้างศัตรู
ปฏิเสนิกโรติ : ก. กระทำความเป็นข้าศึก, ตั้งต้นเป็นศัตรู, แก้แค้น
ปฏุตา : อิต., ปฏุตฺต นป. ความฉลาด, ความชำนาญ
ปฐวตฺต : นป. ความเป็นดิน, ความเป็นของแข็ง
ปฐวีกมฺป : ป. ความสั่นสะเทือนแห่งแผ่นดิน, แผ่นดินไหว
ปฐวีสญฺญา : อิต. ความกำหนดหมายว่าเป็นดิน
ปณฺฑา : อิต. ปัญหา, ความรู้
ปณฺฑิจฺจ : นป. ความเป็นบัณฑิต, ความเฉลียวฉลาด, ความเฉียบแหลม
ปณฺฑิตก : ป. คนที่เข้าใจว่าตนเป็นบัณฑิต, คนเห่อความรู้, คนอวดฉลาด
ปณฺณตฺติวชฺช : นป. โทษอันเนื่องมาแต่พระบัญญัติ, ความผิดทางพระวินัย
ปณมติ : ก. น้อมกายลงแสดงความเคารพ, นอบน้อม, เคารพ, บูชา, โค้ง, งอ
ปณย : ป. ความรักใคร่, ความไว้วางใจ, ความวิงวอน
ปณิธาน : นป. การตั้งความปรารถนา, การตั้งใจแน่วแน่, การตัดสินใจเด็ดเดี่ยว
ปณิธาย : อ. ตั้งไว้แล้ว, ดำรงไว้แล้ว, ตั้งความปรารถนาแล้ว, มุ่งหวังแล้ว
ปณิปาต : ป. การหมอบลง, การหมอบกราน, การแสดงความเคารพ
ปตฺตสญฺญี : ค. ผู้มีความสำรวมในบาตร
ปตฺตานุโมทนา : (อิต.) ความยินดีตามซึ่งส่วนบุญอันถึงแล้ว, การอนุโมทนาซึ่งส่วนบุญ อันมาถึงแล้ว. ปตฺตาปตฺติ + อนุโมทนา. การอนุโมทนาส่วนบุญที่ผู้อื่นให้แล้ว ทินฺนปตฺติ + อนุโมทนา ลบ ทินฺน, การ อนุโมทนาส่วนบุญ ปตฺติ + อนุโมทนา.
ปตฺตานุโมทนามย : (วิ.) (บุญ) สำเร็จด้วยความยินดีตามซึ่งส่วนบุญอันถึงแล้ว, ฯลฯ.
ปตฺติย : ค., ป. ซึ่งควรถึง, พึงบรรลุ; ซึ่งควรเชื่อถือ, น่าไว้ใจ; ความเชื่อถือ, ความไว้ใจ
ปตฺติยายน : นป. ความเชื่อถือ, ความไว้ใจ
ปตฺถนา : (อิต.) ความมุ่งหมาย, ความต้องการ, ความอยากได้, ความปรารถนา. ปตฺถยาจนายํ, ยุ, อิตถิยํ อา. ส. ปรารถนา.
ปตาป : ป. เดช, อานุภาพ, ความยิ่งใหญ่, ความรุ่งเรือง
ปตาปวนฺตุ : ค. มีเดช, มีอานุภาพ, ความยิ่งใหญ่, ความรุ่งเรือง
ปติฏฺฐา : อิต. ที่พึ่ง, ที่อาศัย, ที่ยึดเหนี่ยว; ความค้ำจุน; ความช่วยเหลือ; ผู้ช่วยเหลือ
ปถน : (นปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป. ปถฺ คติยํ, ยุ. ความแผ่ไป, ความพิสดาร, ความกว้างขวาง. ปถฺ วิตฺถาเร, ยุ.
ปทกฺขิณคฺคาหิตา : อิต. ความเป็นผู้ถือเอาโดยเบื้องขวา, ความรับเอาโดยความเคารพ, ความฉลาด, ความชำนาญ
ปทกฺขิณคฺคาหี : ค. ผู้ถือเอาโดยเบื้องขวา, ผู้รับเอาด้วยความเคารพ, ผู้เรียนรู้ได้รวดเร็ว
ปทกฺขิณา : อิต. ประทักษิณ, การเวียนขวา, การเดินเวียนรอบโดยหันเบื้องขวาเข้าหาปูชนียบุคคลหรือปูชนียวัตถุเพื่อเป็นการแสดงความเคารพ
ปทตฺถ : ป. อรรถแห่งบท, ความหมายของคำ
ปทน : (นปุ.) การไป, การถึง, การดำเนินไป, ความเป็นไป. ปทฺ คติยํ, ยุ.
ปทปูรณ : (ปุ.) บทอันยังเนื้อความให้เต็ม, บทบูรณ์ คือคำที่ทำให้คำประพันธ์ครบคำ ตามหลักหรือกฎเกณฑ์ของคำประพันธ์.
ปทภาชน : นป. บทภาชน์, บทไขความ, บทอธิบายความ
ปทภาชนีย : (นปุ.) ข้อความอัน...จำแนกไว้, บทภาชนีย์ คือบทที่ตั้งไว้เพื่อไขความบทที่ ต้องอธิบาย
ปทร ปทล : (วิ.) ทำลายซึ่งความเร่าร้อน, ทำลายซึ่งความกระวนกระวาย. ปสฺทโท ทรเถ, ทรฺ ทลฺ วา วิทารเณ, อ.