Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความรุนแรง, รุนแรง, ความ , then ความ, ความรนรง, ความรุนแรง, รนรง, รุนแรง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความรุนแรง, 3709 found, display 2051-2100
  1. ยญฺญสมฺปทา : อิต. ความถึงพร้อมแห่งการบูชายัญ, ความสำเร็จแห่งการบูชายัญ
  2. ยตฺต ยตฺร : (นปุ.) ความเพียร. ยตฺ ปยตเน, ต, ตฺรณฺ ปัจ.
  3. ยตน : นป. ความพยายาม, ความขวนขวาย
  4. ยติ : (ปุ.) ความเพียร, ความขยัน, คนขยัน, ยตฺ ปยตเน, อิ.
  5. ยถตฺต : นป. ความเป็นจริง, ความเป็นอย่างนั้น
  6. ยถากาม : ก.วิ. ตามความประสงค์
  7. ยถากามการี : ป. ผู้รู้กระทำตามความประสงค์
  8. ยถานุภาว : ก. วิ. ตามกำลังแห่งตน, ตามความสามารถของตน
  9. ยถาปสาท : ก. วิ. ตามความเสื่อมใสแห่งตน
  10. ยถาผาสุก : (วิ.) มีความสำราญอย่างไร.
  11. ยถาภุจฺจ : (นปุ.) ตามความเป็นจริง.
  12. ยถาภุจฺจ, - ภูต : ค. จริง, แท้, ปรากฏ; ตามความเป็นจริง, สมควรเป็นจริง
  13. ยถาภูต : ก.วิ. ตามความเป็นจริง, ในสิ่งที่เป็นจริง
  14. ยถาภูตญาน : (นปุ.) ความรู้ตามความเป็นจริง.
  15. ยถารห : ก.วิ. ตามสมควร, ตามความเหมาะสม
  16. ยถารุจึ : ก.วิ. ตามความชอบใจ, ตามความพอใจ
  17. ยถาวโต : ก.วิ . ตามความเป็นจริง
  18. ยถาวุฑฺฒ : ก.วิ. ตามความเจริญ
  19. ยถาสก : ค., ยถาสกํ ก.วิ. ตามความป็นของของตน
  20. ยถาสทฺธ : ก. วิ. ตามศรัทธาของตน, ตามความเชื่อของตน
  21. ยถาสภาว : (ปุ.) ความจริงอย่างไร, ความเป็นจริงอย่างไร.
  22. ยถิจฺฉต : ก.วิ. ตามความพอใจของตน
  23. ยทิจฺฉา : (อิต.) ความปรารถนาอย่างไร, ความประสงค์อย่างไร, ความประพฤติตามอำเภอใจ. วิ. ยา ยา อิจฺฉา อธิปฺปาโย ยทิจฺฉา.
  24. ยปนา : (อิต.) ความเป็นอยู่, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, อายุ. ยปฺ วตฺตเน, ยุ.
  25. ยมกวคฺควณฺณนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งวรรคอันบัณฑิตกำหนดนับด้วยเรื่องอันแสดงของที่เป็นคู่ๆ กัน.
  26. ยส : (ปุ.) ชื่อเสียง, ความยิ่ง, ความเด่น, ความยกย่อง, ความยกย่องนับถือ, เกียรติ, ยศ. วิ. ยชติ เอเตนาติ ยโส. ยชฺ เทวปูชายํ, อ, ชสฺสโส. สพฺพตฺถ ยาตีติ วา ยโส. ยา คมเน, โส, รสฺโส.
  27. ยสมหตฺต : นป. ความเป็นผู้มียศใหญ่
  28. ยาตนา : (อิต.) การทรมาน, ความทรมาน, ความเจ็บป่วย. ยตฺ นิยฺยาตเน, ยุ, อิตฺถิยํ อา.
  29. ยาม : (ปุ.) การสำรวม, ความสำรวม, การจำศีล. ยมุ วิรมเณ, โณ.
  30. ยามา : (อิต.) เทวดาชั้นยามะ วิ. ทุกฺขโต ยาตา อปคตาติ ยามา (ปราศจากความลำบาก). ทิพฺพสุขํ ยาตา ปยาตา สมฺปตฺตาติ ยามา (ถึงแล้วซึ่งความสุขอันเป็นทิพ). จากอภิธรรม.
  31. ยาวทตฺถ : (นปุ.) เพียงใดแต่ความต้องการ, เพียงไรแต่ความต้องการ, เพียงไรแต่ความประสงค์.
  32. ยุคนฺต : (ปุ.) ความสุดสิ้นกัลป์, ขัยกัลป์. วิ. ยุคาน มนฺเต ชาโต ยุคนฺโต.
  33. ยุคมตฺตทสฺสิตา : (อิต.) ความที่แห่งตนเป็นผู้มีปกติแลดูตลอดที่มีแอกหนึ่งเป็นประมาณ, ความเป็นผู้มีสายตาทอดไปข้างหนึ่งชั่วแอก เป็นกิริยาสำรวมของภิกษุไม่มองล็อกแล็กไปทางโน้นทางนี้.
  34. ยุตติ : (วิ.) ประกอบ, ฯลฯ, ตกลง, จบ, เลิก, ยุกติ, ยุตติ, ยุติ. ยุกติ ยุตติ ยุติ ไทยใช้เป็นกิริยาในความว่า จบ ตกลง เลิก ลงเอย.
  35. ยุตฺติ : (อิต.) ความประกอบ, ฯลฯ, การประกอบ, ฯลฯ.
  36. ยุวน : (นปุ.) ความรุ่น, ความหนุ่ม, ความสาว, ความเป็นหนุ่มสาว, เยาวน์. ยุ มิสฺสเน, ยุ.
  37. เยภุยฺยสิกา : (อิต.) ความเห็นข้างมาก, เยภุยยสิกา ชื่อของวิธีระงับอธกรณ์อย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง คือการตัดสินเอาตามคำของคนมากเป็นประมาณ.
  38. โยคาวจร : (ปุ.) บุคคลผู้หยั่งลงสู่ความเพียร, ภิกษุผู้หยั่งลงสู่ความเพียร คือท่านผู้เรียนสมถวิปัสนา และปฏิบัติสมถะหรือวิปัสสนา.
  39. โยชฺช : (นปุ.) ความมั่นคง, ฯลฯ, ความประกอบ, ฯลฯ.
  40. โยนิโส : (อัพ. นิบาต) โดยการจำแนกโดยความรู้, โดยความจำแนกโดยความรู้, โดยอุบายอันแยบคาย, โดยอุบายอันถูกทาง, โดยความรู้, โดยแยบคาย, โดยถ่องแท้, โดยตลอด. โส ปัจ.
  41. โยนิโสมนสิการ : (ปุ.) การกระทำไว้ในใจโดยอุบายอันแยบคาย, การกระทำไว้ในใจโดยอุบายอันถูกทาง, การใส่ใจโดยถูกทาง, การพิจารณาโดยถูกทาง, การพิจารณาโดยแยบคาย, การพิจารณาโดยถี่ถ้วน, การพิจารณาโดยละเอียดถี่ถ้วน, ความพิจารณาโดยถูกทาง, ฯลฯ.
  42. โยพฺพญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งเด็กหนุ่ม, ความเป็นแห่งเด็กสาว, ความเป็นแห่งคนหนุ่ม, ความเป็นแห่งเด็กรุ่นหนุ่ม, ความเป็นแห่งเด็กรุ่นสาว, ความเป็นแห่งคนรุ่นหนุ่ม ความเป็นเด็กหนุ่ม, ฯลฯ. ยุว+ณฺย ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ แปลง ณฺย เป็น ญฺญ.
  43. โยพฺพน : (นปุ.) ความเป็นแห่งเด็กหนุ่ม, ฯลฯ. ยุว+ณ ปัจ. พฤทฺธิ อุ เป็น โอ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ลบ ณฺ เหลือ อ นฺ อาคม รูปฯ ๓๗๒.
  44. โยพฺพนมท : ป. มัวเมาในความเป็นหนุ่ม
  45. : (ปุ.) ความปรารถนา, ความรัก, ความใคร่, ไฟ.
  46. รกฺข : (ไตรลิงค์) การระวัง, การรักษา, การถนอม, การป้องกัน, การต่อต้าน, การต้านทาน, ความระวัง, ฯลฯ. รกฺข ปาลเน, อ.
  47. รกฺขา : อิต. การรักษา, ความปลอดภัย, การคุ้มครอง
  48. รงฺค : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป, ความเป็นไป, รคิ คมเน, อ.
  49. รชฺช : (นปุ.) ความเป็นแห่งพระราชา, ความเป็นพระราชา, วิ. ราชิโน ภาโว รชฺชํ. ราช+ณยปัจ. รัสสะ อา เป็น อ ลบ อ ที่ ช ลบ ณฺ รวมเป็น รชฺย แปลง ย เป็น ช. ราชสมบัติ ราชอาณาเขต ก็แปล.
  50. รชฺชกาล : (ปุ.) เวลาแห่งความเป็นพระราชา, รัชกาล คือ ระยะเวลาครองราชสมบัติของพระราชาองค์หนึ่งๆ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | [2051-2100] | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3709

(0.1334 sec)