อวฺยาปชฺฌ : ๑. นป. การไม่เบียดเบียน, ความเป็นผู้มีใจกรุณา ;
๒. ค. ปราศจากการกดขี่, มีใจกรุณา
อวฺยาปนฺน : ค. ปราศจากความพยาบาท, ไม่มีความมุ่งร้าย
อวฺยาปาท : ป. ความไม่พยาบาท, ความไม่ปองร้ายผู้อื่น
อวฺโยสิต : ค. ไม่ถึงความสำเร็จ, ไม่ถึงที่สุด
อวโรธน : นป. การกีดขวาง, อุปสรรค ; ความผิด
อวเลป : (ปุ.) การชโลม, การลูบไล้, ความถือตัว, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, อติมานะ.วิ.อวลิมฺปนํอวเลโป.
อวสฺส : ค. ขัดกับความประสงค์, ซึ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้
อวสุสฺสน : นป. ความเหี่ยวแห้ง, ร่วงโรย
อวหาร : (ปุ.) การนำลง, การฉวยเอา, การชิงเอาการลัก, การขโมย, ความนำลง.อวหรือโอบทหน้าหรฺธาตุในความถือเอาณปัจ.ส.อวหาร.
อวา : อิต. อันตราย, ความทุกข์
อวิจกฺขณ : (ปุ.) คนไม่มีความเห็นแจ้ง, คนพาล.
อวิจิกิจฺฉา : อิต. ความไม่ลังเล, ความไม่แน่ใจ
อวิจิณฺณ : ๑. นป. ความช่ำชอง ;
๒. ค. ไม่เลือก, ไม่ค้นหา
อวิชฺชา : (อิต.) ความไม่รู้, ความไม่รู้จริง, ความหลงคือไม่รู้จริง, ความเขลา, อวิชชา(ความไม่รู้อริยสัจ ๔).นปุพฺโพ, วิทฺ ญาเณ, โณย, ทฺยสฺสชโช.
อวิตฺถนตา : อิต. ความไม่ตึง, ความไม่กระด้าง
อวิตฺถาร : ป. ความไม่พิสดาร
อวินย : ป. ไม่ใช่วินัย, ความประพฤติผิด
อวิปจฺจนีกสาตตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่ยินดีในการโต้แย้ง
อวิปฺปฏิสาร : ป. ความไม่วิปฏิสาร, ความไม่เดือดร้อน
อวิปฺปวาส : ๑. ป. การไม่อยู่ปราศจาก, ความตั้งใจ ;
๒. ค. ซึ่งไม่ทอดทิ้ง, ตั้งใจ, กระตือรือร้น
อวิปริณามธมฺม : ป. ความไม่เปลี่ยนแปลง, ความไม่แปรไปเป็นอย่างอื่น
อวิราชยต : ค. ไม่คลายความกำหนัดยินดี, ไม่คลายยึดถือ
อวิริย : ค. ไม่มีความเพียรพยายาม
อวิรูฬฺหิ : อิต. ความไม่เจริญงอกงาม
อวิโรธ : ป. ความไม่ยินร้าย, ความไม่โกรธ, ความไม่ประพฤติผิดธรรม, ความสุภาพ
อวิสคฺคตา : อิต. ความไม่ถูกขัดขวาง, ความไม่ถูกรบกวน; ความปรองดองกัน, ความสมดุลกัน
อวิสวาทก : ค. ผู้ไม่พูดหลอกลวง, ผู้ไม่พูดคลาดเคลื่อนจากความจริง
อวิสวาทนตา : อิต. ความไม่พูดหลอกลวง, ความซื่อสัตย์
อวิสาหฏมานสตา : (อิต.) ความที่แห่งบุคคลเป็นผู้มีจิตไม่ส่ายแล้ว, ความที่แห่งจิตเป็นจิตไม่ส่ายแล้ว, ความแน่วแน่.
อวิสาหาร : (ปุ.) ความไม่ส่าย, ความแน่วแน่.
อวิหึสา, อวิเหสา : อิต. การไม่เบียดเบียน ; ความกรุณา, มนุษยธรรม
อวีจิ : ๑. อิต. ชื่อนรกขุมหนึ่ง ; ความคร่ำคร่า ; ตลอดกาลไม่ขาดระยะ ;
๒. ค. ไม่มีคลื่น, ไม่มีเปลว
อวีติกฺกม : (ปุ.) ความไม่ก้าวล่วง.
อเวกลฺลตา : อิต. ความไม่ขาดตกบกพร่อง, ความไม่วิกลวิการ
อเวจิกิจฺฉี : ค. ไม่มีความสงสัยแคลงใจ
อเวรี : ค. ไม่มีเวร, ไม่มีความจองร้าย
อสกฺขิลวาจตา : อิต. ความเป็นผู้กล่าววาจาอันไม่เป็นมิตร, การพูดถ้อยคำอันไม่อ่อนหวาน
อสคฺคุณ : ค. ไม่มีคุณ, ไม่มีความดี
อสงฺกิต, - กิย : ค. ไม่รังเกียจ, ไม่ระแวง, ไม่สงสัย, มีความเชื่อมั่น
อสงฺกิเลสิก : ค. ผู้ไม่มีกิเลสเครื่องเศร้าหมอง, ผู้ไม่มีความเศร้าหมอง, ผู้ไม่สกปรก
อสงฺกุสกวตฺติ : อิต. ความประพฤติที่ไม่ขัดกัน, ความประพฤติที่สอดคล้องกัน, ความว่าง่ายสอนง่าย
อสงฺขาริก : (นปุ.) ความไม่ปรุงแต่ง. วิ.อสงฺขโรเยวอสงฺขาริกํ.ณิกปัจ.สกัดรูปฯ ๓๖๐.
อสงฺคติ : (อิต.) อันไม่ไปร่วม, ความไม่ไปร่วม.
อสญฺญ, - ญก, - ญี : ค. ไม่มีสัญญา, ไม่มีความจำได้, ไม่มีความรู้สึก
อสญฺญอสญฺญ : (วิ.) ไม่มีสัญญา, ไม่รู้สึกตัว.สิ้นสติ.ไทยใช้ อสัญ อาสัญ เป็นกิริยาในความว่าตาย, อสัญญีในความว่าหมดความรู้สึกสลบ.
อสญฺญี : ค. ไม่มีสัญญา, ไม่มีความจำได้, ไม่มีความรู้สึก
อสทฺธ : ค. ไม่มีศรัทธา, ไม่มีความเชื่อ
อสทน : ปน., ค. ความไม่อดทน, ความไม่อดกลั้น ; ไม่มีความเพียร
อสนฺตุฏฺฐ : ค. ไม่สันโดษ, ซึ่งไม่มีความพอใจในของของตน
อสนฺตุฏฺฐิ, - ฐิตา : อิต. ความไม่สันโดษ, ความไม่ความพอใจในของที่ตนมีอยู่