อากลฺย, อากสฺส : นป. ความไข้, ความเจ็บป่วย, อาพาธ
อาการ : (ปุ.) การทำยิ่ง, ความทำโดยยิ่ง, มรรยาทเครื่องทำโดยยิ่ง, ความเป็นอยู่, การณะ, สัณฐาน, ส่วน, ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย, วิธี, ทำนอง, ท่าทาง.วิ.อากรณํอากาโร.ส.อาการ.
อากิญฺจญฺญ : นป. ความไม่มี, ความว่างเปล่า
อากิญฺจญฺญายตน : นป. อากิญจัญญายตนะ, ฌานที่มีการคำนึงว่าไม่มีอะไรเป็นอารมณ์, สภาวะแห่งความไม่มีอะไร
อากิรณ : นป. ความอาเกียรณ์, ความเรี่ยราด, ความกระจัดกระจาย
อากิริตตฺต : นป. ความเต็ม, ความบริบูรณ์
อากีรณ : (นปุ.) ความเกลื่อนกล่น, ความดาษดาความคลุกคลี, ความระคน, ความเรี่ยราย, อาเกียรณ์.อาปุพฺโพ, กิรฺวิกิรเณ, ยุ.ส. อากีรฺณ.
อากูต : นป. ความปรารถนา
อาขฺยาต : (นปุ.) อาขยาดชื่อปกรณ์ของบาลีไวยากรณ์ปกรณ์หนึ่งวิ. กิริยํอาขฺยาตีติอาขฺยาตํ (ปทํ สทฺทชาตํ).กิริยํอาจิกฺขตีติอาขฺยาตํ.รูปฯ ๒๔๐.อาขฺยาตีติอาขฺยาตํ.อภิฯ.อาบทหน้า ขฺยาธาตุในความกล่าวตปัจ.ซ้อนกฺ เป็น อากฺขฺยาตบ้าง.
อาเขฏก : ป. ความสะดุ้ง, ความหวาดเสียว
อาคท : (ปุ.) ถ้อยคำ (กล่าวชัด)อาบทหน้าคทฺธาตุในความกล่าวชัดเจนอ.ยุปัจ.
อาคทน : (นปุ.) ถ้อยคำ (กล่าวชัด)อาบทหน้าคทฺธาตุในความกล่าวชัดเจนอ.ยุปัจ.
อาคนฺตุกภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง...เป็นผู้จรมา
อาคมน : (นปุ.) การมา, การมาถึง, ความมา.ส.อาคมน.
อาคมนการณ : (นปุ.) เหตุคือความมา, เหตุแห่งการมา.
อาคุ : (นปุ.) ความชั่ว, บาป, วิ. อาคนฺตพฺพํคจฺฉติเอเตนาติอาคุ. อา ปีฬนํคจฉตีติ วาอาคุ. อาปุพฺโพคมฺคติยํ, ณุ, มฺโลโป. ความผิด, โทษ. วิ. อปคจฺฉติอเนนาติอาคุ.อปบทหน้าลบปทีฆะอเป็นอา.
อาคู : ป. ความหยาบช้า, บาป
อาฆาตน : (นปุ.) ที่เป็นที่นำมาฆ่า, สถานที่ฆ่า, สถานที่สำหรับฆ่า, ตะและแกง (ที่เป็นที่นำมาฆ่าที่สำหรับฆ่านักโทษ)วิ.อาคนฺตวาฆาเตนฺติยสฺมึตํอาฆาตนํ.อาโกธวเสนสตฺเตฆาเตติเอตฺถาติอาฆาตนํ.อาอักษรเป็นไปในความโกรธ.ส.อาฆาตน.
อาจมา : (อิต.) ความว่องไว, ความปรารถนา.?
อาจริยมุฏฺฐิ : อิต. ความรู้พิเศษของอาจารย์, อาจารย์ที่ปิดบังความรู้
อาจาร : (ปุ.) มรรยาทอันบุคคลพึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อ, ความประพฤติ, ความประพฤติที่ดี, ความประพฤติไม่ล่วงละเมิดทางกายและทางวาจา, สีลสังวร, มารยาท, มรรยาท, มรรยาทอันดี, จรรยา, ขนบ, ธรรมเนียม, ระเบียบ, แบบแผน.ไตร.๓๕/๖๐๔.ส. อาจาร.
อาจารกุสล : ค. ผู้ฉลาดในความประพฤติที่ดี
อาจารวิปตฺติ : (อิต.) อันเคลื่อนคลาดโดยความประพฤติ, อาจารวิบัติ, (เสียมารยาททางความประพฤติ, ความประพฤติเสีย).
อาจารี : ค. ผู้มีมรรยาทดี, มีความประพฤติดี
อาจิณฺณกปฺป : ป. ความประพฤติที่ทำต่อๆ กันมา, การประพฤติเนืองๆ
อาจิณฺณอาจิณฺณกมฺม : (นปุ.) อาจิณณกรรมคือกรรมที่ทำเสมอ ๆ เนือง ๆ บ่อย ๆ. วิ.อาจียติ ปุนปฺปุนํกรียตีติอาจิณฺณํ. อาปุพฺโพจิจเย, โต.แปลงตเป็น อิณฺณไทยใช้อาจิณเป็นวิเศษในความว่าเป็นปกติเนือง ๆบ่อย ๆ เสมอ.
อาชฺชว : นป. ความซื่อตรง, ความเป็นคนตรง
อาชานน : นป. ความรู้, ความเข้าใจชัด
อาชานียตา : อิต. ความเป็นผู้เกิดมาจากตระกูลที่ดี, ความเป็นผู้ประเสริฐ
อาชีว : (ปุ.) ความเป็นอยู่, การเลี้ยงชีพ, การเลี้ยงชีวิต, อาชีพ(การทำมาหากิน), ธรรมเป็นที่มาเป็นอยู่. วิ.อาชีวนํอาชีโว.อาชีวติเอเตนาติอาชีโว.อาปุพฺโพ, ชีวฺปาณธาร-เณ, อ.ส.อาชีว.
อาชีวน : (นปุ.) ความเป็นอยู่, ฯลฯ. ส.อาชีวน.
อาชีวปริสุทฺธิ : อิต. ความบริสุทธิ์แห่งการเลี้ยงชีพ
อาชีววิปตฺติ : อิต. ความวิบัติแห่งการเลี้ยงชีพ, ความเป็นผู้เลี้ยงชีพผิด
อาชีวสมฺปทา : อิต. ความถึงพร้อมแห่งการเลี้ยงชีพ
อาชีวิก : นป. การดำรงชีพอยู่, ความเป็นอยู่
อาณณฺย : นป. ความไม่มีหนี้
อาณตฺติ : (อิต.) การบังคับ, ความบังคับ, ข้อบังคับ, ข้อบังคับที่นัดหมายกันไว้, คำบังคัง, คำสั่ง, กฏ.อาณฺธาตุติปัจ.แปลงติเป็นตฺติ.ส. อาชฺญปฺติ.
อาณฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งหนี้, ความเป็นหนี้.วิ.อิณสฺสภาโวอาณฺยํ.ณฺยปัจ.ภาวตัท.แปลงอิเป็นอากัจฯ๔๐๖.
อาณอาณน : (นปุ.) เสาตะลุง.อาณฺธาตุในความบังคับอ, ยุ ปัจ.
อาณา : (อิต.) การบังคับ, ความบังคับ, คำสั่ง, คำสั่งบังคับ, อำนาจ, อำนาจปกครอง, อาชญา, อาญา.อาณฺเปสเน, อ, อิตฺถิยํอา.ส. อาชฺญา.
อาตกอาตงฺก : (ปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบายความรำคาญ, ความกังวล, ความห่วงใย, ความเร่าร้อน, ความดือดร้อน, โรค.วิ.อาภุโสตํกตีติอาตํโกอาตงฺโกวา.อาปุพฺโพกติกิจฺฉชีวเน, อ.ส.อาตงฺก.
อาตงฺก : ป. ความเจ็บปวด, ความเป็นผู้ลำบาก
อาตงฺค : (นปุ.) ความกลัว, ความหวาด, ความสะดุ้ง.อาปุพฺโพ, ตสฺอุตฺราเส, อ.แปลง สเป็นคนิคคหิตอาคม.
อาตปตา : อิต. ความเป็นคืออันเร่าร้อน, ความเร่าร้อน
อาตปฺป : (ปุ.) ความยังกิเลสให้เร่าร้อน, ความเพียร, ความพยายาม. วิ.อาภุโสกายํจิตฺตญฺจตาเปตีติอาตปฺโป.อาปุพฺโพ, ตปฺสนฺตาเป, โณ, ทฺวิตฺตํ
อาตปาภาว : (ปุ.) ความไม่มีแห่งแดด, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณเงาที่ไม่มีแดด).อาตป+อภาว.
อาตาป : (ปุ.) ความเพียรเป็นเครื่องยังกิเลสให้เร่าร้อน, ความร้อน, ความยังกิเลสให้ร้อน, ความเพียรเผากิเลส, ความขยัน, ความเข้มแข็ง, ความเพียร. วิ.อาสมนฺตโตตาเปตีติอาตาโป.
อาตาปน : นป. ความเพียร, เครื่องเผากิเลสให้เร่าร้อน, การทรมานตัวเพื่อย่างกิเลส
อาตาปี : (วิ.) ผู้มีความเพียรเป็นเครื่องยังกิเลสให้เร่าร้อน, ฯลฯ, ผู้ยังกิเลสให้แห้ง (หมดไป).อี ปัจ.
อาทยุปลทฺธิ : (อิต.) ความรู้สิ่งที่เกิดก่อน, ความรู้เรื่องที่เกิดก่อน, ความรู้เรื่องปฐมสัตว์, ปฐมสัตย์วัตถุ.