อิตถีนิมิตฺต : (นปุ.) เครื่องหมายของหญิง. อิตฺถี+นิมิตฺต. เครื่องหมายของเพศหญิง. อิตฺถีเวส+นิมิตฺต ลบ เวส. เครื่องหมาย ของความเป็นหญิง. อิตฺถีภาว+นิมิตฺต ลบ ภาว.
อิติภวาภวกถา : (อิต.) เรื่องความเจริญและ ความเสื่อมด้วยประการนั้น ๆ
อิทฺธ : (อิต.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จกิจนั้น ๆ, ฤทธิ์, เดช. อิธฺ วุฑฺฒิยํ, อิ, ทฺสํโยโค. คำฤทธิ์ ไทยใช้ในความหมายว่า อำนาจศักดิ์สิทธิ์ หรือการทำอะไร ๆ ได้พิเศษกว่าคนอื่น. ส. ฤทฺธิ.
อิทฺธิ : อิต. ความเจริญ, ฤทธิ์
อิทฺธิปาฏิหาริย : (นปุ.) ความอัศจรรย์อันเกิด จากความสำเร็จ, อิทธิปาฏิหาริย์ (สิ่งที่น่าอัศจรรย์ การแสดงฤทธิ์ได้เป็น อัศจรรย์).
อิทฺธิปาท : (ปุ.) ธรรมอันยังผู้ปฏิบัติให้ถึง ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จ, คุณ เครื่องให้สำเร็จความประสงค์ตามเป้า หมาย, ปฏิปทาแห่งความสำเร็จ.
อิทฺธิพล : (นปุ.) กำลังแห่งความสำเร็จ, กำลัง อันยังผลให้สำเร็จ, อิทธิพล (กำลังอำนาจ). คำอิทธิพล ไทยใช้ทั้งในทางดีและทางเสีย ทางดี เช่น อิทธิพลของดวงดาว ทางเสีย เช่น ใช้อิทธิพลบังคับให้ยินยอม.
อิทปจฺจยตา อิทปฺปจฺจตา : (อิต.) ความเป็น แห่งธรรม มีอวิชชาเป็นต้นเป็นปัจจัย, ความเป็นแห่งสังสารอัฏมีอวิชชาเป็นต้น เป็นปัจจัย.
อิทปฺปจฺจยตา : อิต. ความมีสิ่งนี้เป็นปัจจัย
อิทสจฺจาภินิเวส : (ปุ.) ความยึดมั่นว่าสิ่งนี้มีจริง. แปลง อิม เป็น อิทํ เมื่ออยู่หน้าบทสมาส.
อินฺทฺริยสวร : (นปุ.) ความสำรวมซึ่งอินทรีย์, อินทรีย์สังวร คือการสำรวมอายตนะ ภายใน ๖.
อินฺทิย อินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่, ร่าง กาย, ร่างกายและจิตใจ, กำลัง, กำลังกาย, อำนาจ, ความรู้สึก, สติปัญญา, ประสาท, หน้าที่, อินทรีย์ (ความเป็นใหญ่ในกิจ นั้น ๆ). วิ. อินฺโท อตฺตา, ตสฺส ลิงฺคํ อินฺทิยํ อินฺทริยํ วา. อิย ปัจ. อินฺทติ ปรมิสฺสริยํ กโรตีติ วา อินฺทิริยํ. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อิโย. ศัพท์หลังแปลง ท เป็น ทฺร. ส. อินฺทริย.
อินฺทิรา : (อิต.) พระลักษมี ชื่อชายาของพระ นารายณ์ เป็นเจ้าแม่แห่งลาภและความงาม.
อินฺทุริย : นป. อินทรีย์, อำนาจ, ความเป็นใหญ่
อินฺทุริยปโรปริยตฺติ : อิต. ความหย่อนและยิ่งแห่งอินทรีย์ของสัตว์ทั้งหลาย
อิริยนา : (อิต.) ความเป็นไป, ความประพฤติ, ความเป็นอยู่, ความเจริญอยู่. อิริยฺ วตฺตเน, ยุ.
อิริยา : (อิต.) ความเป็นไป, ฯลฯ. ความเคลื่อนไหว, กิริยา, ท่าทาง. อิริยฺ ธาตุ อ ปัจ. ส. อีรฺยา.
อิริยาปถ : (ปุ.) คลองเป็นที่มาเป็นไปแห่ง อวัยวะ อันบุคคลพึงให้หวั่นไหว, คลอง แห่งกิริยาอันบุคคลให้เป็นไป, ทางแห่ง ความเคลื่อนไหว, อาการเคลื่อนไหว, อิริยาบถ (การเคลื่อนไหว ยืน เดิน นั่ง นอน).
อิสฺสกี : (วิ.) มีความฤษยา, มีความริษยา. อิสฺส+อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. กฺ อาคม.
อิสฺสรภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งชนผู้เป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่, ความเป็น ใหญ่, อิสสรภาพ อิสรภาพ (ความเป็น ใหญ่ในตัวเอง ความไม่ขึ้นแก่ใคร).
อิสฺสริยมท : ป. ความมัวเมาในความเป็นใหญ่
อิสฺสา : (อิต.) ความเกียดกัน, ความชิงชัง, ความหึงหวง, ความริษยา (นิสัยที่เห็นเขา ได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ คิดตัดรอนเขา คิด ทำลายเขา). วิ. อิสฺสติ สตฺเตสุปิ คุเณสุ วจสา มนสา วา โทสาโรปนํ กโรตีติ อิสฺสา. อิสฺส อิสฺสายํ, อ. อิสฺ อิสฺสายํ วา, โส. ไทยนำคำ อิจฉา ซึ่งแปลว่าความหวัง เป็นต้น มาใช้ในความหมายว่าริษยา ดังคำ ว่า อิจฉาตาร้อน. ส. อีรฺษยา.
อิสฺสายนา : (อิต.) กิริยาที่ริษยา, ความริษยา, ความฤษยา.
อิสฺสุกี : (วิ.) ผู้มีความขวนขวาย. อิสฺ อุญฺเฉ, อุกี.
อิสฺเสร : (นปุ.) ความยิ่งใหญ่, ความเป็นเจ้า, ความเป็นใหญ่. ณ ปัจ. ภาวตัท สกัด แปลง อ ที่ ส เป็น เอ.
อิสิ : (ปุ.) ฤาษี, ฤษี (ผู้แสวงหาคุณความดี ผู้ถือบวช), บุคคลผู้แสวงหา, บุคคลผู้ แสวงหาความดี, บุคคลผู้ปรารถนาดี. วิ. สิวํ อิจฺฉตีติ อิสิ. อิสฺ คเวสนอิจฺฉาสุ, อิ. อิสิ เป็นชื่อของพระอิรยะ เป็นพระนามของ พระพุทธเจ้า ก็มี. ส. ฤษิ.
อิสิปพฺพช อิสิปพฺพชฺช : (วิ.) บวชด้วยความเป็นฤาษี, บวชเป็นฤาษี.
อีฆ : ป. ความคับแค้นใจ, อันตราย
อีติ : (อิต.) ธรรมชาติมาเพื่อความฉิบหาย, เสนียด, จัญไร, อุบาทว์, อันตราย. วิ. อนตฺถาย เอตีติ อีติ. อิ คมเน, ติ, ทีโฆ. แปลง ติ เป็น ทิ เป็น เอทิ บ้าง. ศัพท์กิริยา เอติ แปลว่า ย่อมมา มาจาก อาบทหน้า อิ ธาตุ ติ วิภัติ.
อีหน : นป. อีหา อิต. ความเพียรพยายาม, ความขยัน, ความดำริ, ความรู้
อีหา : (อิต.) ความเพียร, ความพยายาม, ความหมั่น, ความขยัน, ความปรารถนา, ความใส่ใจ, ความเจริญ. อีหฺ เจตายํ, อ. อิ คมเน วา, โห. อถวา, อีหฺ เชฏฐายํ . ส. อีหา.
อุ : อ. เป็นอุปสรรค ใช้ต่อหน้าศัพท์มีความหมายว่า ขึ้น, นอก, เหนือ, บน
อุกฺกฏฐตา : อิต. ความอุกฤษฏ์, ความสูงยิ่ง, ความเลิศ
อุกฺกณฺฐิ : (อิต.) ความกระสัน, ความกระสันขึ้น.
อุกฺกม : (ปุ.) ความขยัน, ฯลฯ. อุปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
อุกฺกมน : (นปุ.) ความขยัน, ฯลฯ. อุปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
อุกฺกส : ป. ความดีเลิศ, ความประเสริฐ, ความสูงสุด
อุกฺกาจนา : อิต. การให้ความสว่าง, การสั่งสอน, การแนะนำ
อุกฺโกจ : (วิ.) ไม่มีความหดเข้า, เผื่อแผ่.
อุกฺโกฏน : นป. การคดโกง, การกินสินบน; ความลำเอียง
อุกาส : (อัพ. นิบาต) ดังข้าพเจ้าขอโอกาส. แปลยักเยื้องไปได้อีกตามความเหมาะสม.
อุคฺคจย : (นปุ.?) ความปรารถนา.
อุคฺคห : (ปุ.) การเรียน, การเล่าเรียน, ความจดจำ. อุปุพฺโพ, คหฺ คหเณ อ, ยุ.
อุคฺคหน อุคฺคณฺหน : (นปุ.) การเรียน, การเล่าเรียน, ความจดจำ. อุปุพฺโพ, คหฺ คหเณ อ, ยุ.
อุคฺคหนิมิตฺต : (นปุ.) ความกำหนดเจนใจ, นิมิตติดตา.
อุคฺฆาติ : อิต. การเขย่า, การกระทบ, ความชนะ
อุคฺโฆส : (ปุ.) ความกึกก้อง, ความเกรียวกราว, ความเล่าลือ, เสียงเล่าลือ. อุปุพฺโพ, ฆุสฺ สทฺเท, อ, ยุ, ส. อุทฺโฆษ.
อุคฺโฆสน : (นปุ.) ความกึกก้อง, ความเกรียวกราว, ความเล่าลือ, เสียงเล่าลือ. อุปุพฺโพ, ฆุสฺ สทฺเท, อ, ยุ, ส. อุทฺโฆษ.
อุจฺจกุลีนตา : อิต. ความเป็นผู้เกิดในตระกูลสูง
อุจฺจตฺต : นป. ความสูง