Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความรุนแรง, รุนแรง, ความ , then ความ, ความรนรง, ความรุนแรง, รนรง, รุนแรง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความรุนแรง, 3709 found, display 3501-3550
  1. อุจฺจนีจตา : อิต. ความสูงและความต่ำ, ความไม่สม่ำเสมอ
  2. อุจฺจูล : ป. ธงชัย, ธงแห่งความชนะ
  3. อุจฺเฉท : (ปุ.) การตัดขาด, การขาดสิ้น, การ ขาดสูญ, ความตัดขาด, ฯลฯ. อุปุพฺโพ, ฉิทฺ เฉทเน, โณ.
  4. อุจฺเฉททิฏฐิ : อิต. ความเห็นว่าตายแล้วขาดสูญ
  5. อุจฺเฉทฺทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าขาดสูญ, อุจเฉททิฏฐิ คือ ความเห็นว่า คนและสัตว์ ตายแล้ว ไม่มีปฏิสนธิวิญญาณ คือขาดสูญ ไม่เกิดอีก ความเห็นนี้ปฏิเสธกัมมวัฏ.
  6. อุชฺชลน : นป. การลุกโพลง, ความรุ่งเรือง
  7. อุชฺฌตฺติ : (อิต.) การเพ่งโทษ, ฯลฯ, ความเพ่งโทษ, ฯลฯ. ติ ปัจ.
  8. อุชฺฌน อุชฺฌาน : (นปุ.) การเพ่งโทษ, การ ยกโทษ, การติเตียน, การโพทนา, ความเพ่ง โทษ, ฯลฯ. อุปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, ยุ.
  9. อุชฺฌาปนก : (นปุ.) ความเป็นผู้ให้เพ่งโทษ, ฯลฯ.
  10. อุชฺฌายน : (นปุ.) การเพ่งโทษ, ฯลฯ, ความเพ่งโทษ, ฯลฯ. แปลง เอ ที่ เฌ เป็น อาย.
  11. อุชุคตา : อิต. ความตรง, ความซื่อตรง
  12. อุชุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนตรง, ฯลฯ. ตา ปัจ.
  13. อุชุ อุชุก : (ปุ.) คนตรง, ฯลฯ, ความตรง, ฯลฯ. ส. อารฺชว.
  14. อุญฺญา : อิต. การดูถูก, ความหยิ่ง
  15. อุฏฐหน : นป. ความลุกขึ้น, ความเพียรพยายาม, ความขยัน
  16. อุฏฐาตุ : ป. ผู้ลุกขึ้น, ผู้มีความขยันหมั่นเพียร
  17. อุฏฐาน : นป. การลุกขึ้น, ความพยายาม, การเริ่มตั้งความเพียร, ความบากบั่นของบุรุษ
  18. อุฏฺฐาน : (นปุ.) การลุกขึ้น, การตั้งขึ้น, การลุกรับ, การออดก (จากครรภ์), การคลอด ลูก, ความขยัน, ฯลฯ. ความเพียรเป็นเครื่อง ลุกขึ้น. อุปุพฺโพ, ฐาคตินิวุตฺติยํ, ยุ, ฏฺสํ โยโค. ส. อุตฺถาน.
  19. อุฏฐานก : ค. ผู้ยังผลให้เกิดขึ้น, ผู้มีความเพียร
  20. อุฏฺฐานสญฺญา : (อิต.) ความสำคัญในการ ลุกขึ้น.
  21. อุฏฐายก : ก. ผู้มีความเพียรเป็นเหตุให้ลุกขึ้น, ผู้ขยัน
  22. อุฏฐายิกา : อิต. ความเพียรพยายาม, ความบากบั่น
  23. อุฑฺฒ : (ปุ.) อูฐ, ความร้อน. อุสฺ ฑาเห, โฒ, ฒสฺส ฑฺฒตฺตํ, สฺโลโป. รูปฯ ๖๕๓. ส. อุษฺฏฺร.
  24. อุณฺณติ : (อิต.) ความพองจิต, ความถือตัว, ความไว้ตัว, ความจองหอง, ความไว้ยศ, การเทิดตน, การไว้ตน, การยกตน. อุปุพฺโพ, นมุ นมเน, ติ. ดู อุณฺณต.
  25. อุณฺณม : ป. ความฟูขึ้น, ความพองตัว, ความหยิ่ง
  26. อุณฺณาม : (ปุ.) ความพองจิต, ฯลฯ. ณ ปัจ.
  27. อุณหภูมิ : (อิต.) ชั้นแห่งความร้อน, ระดับ แห่งความร้อน, อุณฺหภูมิ (ระดับแห่ง ความร้อนเย็นของอากาศ).
  28. อุตฺตปติ : ก. สะดุ้งกลัวต่อบาป, กลัวความผิด
  29. อุตฺตมตา : อิต. ความเป็นของสูงสุด, ความเลิศ
  30. อุตฺตรายน : (นปุ.) พระอาทิตย์เป็นไปเหนือ. วิ. อุตฺตรํ ทิสํ อยติ สุริโย เอตฺถาติ อุตฺตรายนํ. อุตฺตรปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คมเน, ยุ. ความจริงโลกเอียงไปทางใต้ เพราะโลก เดินรอบดวงอาทิตย์. ส. อุตฺตรายณ.
  31. อุตฺตราสค อุตฺตราสงฺค : (ปุ.) ผ้าอันคล้องอยู่ เหนืออวัยวะด้านซ้าย, ผ้าอันคล้องอยู่ที่ ส่วนแห่งกายด้านซ้าย, ผ้าคล้องไว้บนบ่า เบื้องซ้าย, ผ้าห่ม (คือจีวรในภาษาไทย). วิ. อุตฺตรสฺมึ เทหภาเค อาสชฺชเตติ อุตฺตราสํโค อุตฺตราสงฺโค วา. อุตฺตร อา บทหน้า สญฺชฺ ธาตุในความคล้อง อ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็นนิคคหิต ศัพท์ หลังแปลงนิคคหิตเป็น งฺ.
  32. อุตฺตริ : (วิ.) ยิ่ง, ยอดเยี่ยม, ชั้นเยี่ยม, แปลก, มากขึ้น, อุตริ. คำ อุตริ ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยออกเสียงว่า อุดตะหริ ใช้ใน ความหมายว่า แปลกออกไป นอกแบบ นอกทาง.
  33. อุตฺตริมนุสฺสธมฺม : (ปุ.) ธรรมของมนุษย์ ผู้ยิ่ง, ฯลฯ, ธรรมอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, คุณอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, อุตตริมนุสธัม. อุตตริมนุษยธรรม คือคุณธรรม (ความดี ผล) อันเกิดจากการปฏิบัติสมถะ (สมาธิ) ถึงขั้นจิตเป็นอัปปนา หรือจากการปฏิบัติ วิปัสสนาถึงขั้นละกิเลสเป็นสมุจเฉท มีคำ เรียกคุณธรรมนั้น ๆ อีกหลายคำ พระพุทธ เจ้าทรงห้ามภิกษุอวด ปรับอาบัติขั้นสูงถึง ปาราชิก วิ. อุตฺตริมนุสฺสานํ ญายินญฺเจว อริยานญฺจ ธมฺโม อุตฺตริ มนุสฺสธมฺโม.
  34. อุตฺตริย : นป. ความเป็นของสูง, ความเลิศยิ่ง; คำกล่าวตอบ
  35. อุตฺตาน, - นก : ค. หงาย, นอนหงาย ; มีเนื้อความตื้น, ง่าย, แจ่มแจ้ง
  36. อุตฺตาริตตฺต : นป. ความเป็นผู้อันเขาให้ข้ามพ้น; ความเป็นอันเขานำออกแล้ว
  37. อุตฺตาส : ป. ความหวาด, ความสะดุ้ง
  38. อุตฺตาสวนฺตุ : ค. มีความสะดุ้ง, มีการหวาดผวา
  39. อุตฺรสติ อุตฺตรสติ อุตฺตรสฺติ : (อิต.) ความหวาด, ความหวาดเสียว, ความสะดุ้ง, ความตกใจ, ความกลัว. อุปุพฺโพ, ตฺรสฺ อุพฺเพเค, ติ.
  40. อุทคฺค : (วิ.) สูง, บันเทิง, บันเทิงใจ, เบิกบาน ใจ, ดีใจ, ปลื้มใจ, มีกายและจิตไปใน เบื้องบน, มีผลในเบื้องบน. อุท+อคฺค. อุท คือ ความยินดี, ฯลฯ. เป็น อุทฺทคฺค โดยลง ทฺ อาคม บ้าง.
  41. อุทฺทสฺเสติ : ก. แสดง (ตน), แสดงตัว, ปรากฏตัว, เปิดเผย, แสดงความประสงค์
  42. อุทฺทาม : (วิ.) คะนอง, ปราศจากความเหนี่ยว รั้ง. อุปุพฺโพ, ทมฺ คมเน, โณ. ส. อุทฺทาม.
  43. อุทฺธจฺจ : (นปุ.) ความฟุ้งซ่าน, ความคิดพล่าน, อุทธัจจะ (ความคิดพล่านไปในอารมณ์ ต่าง ๆ อย่างเผลอตัว). วิ. อุทฺธํ หนตีติ อุทฺธโต. อุทิธํปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, โต, หนสฺส โธ (แปลง หน เป็น ธ), อสรูปทฺวิตตํ (แปลง ธ เป็น ทฺธ และ ลบ ทฺธํ ที่บทหน้า). อุทฺธตสฺส ภาโว อุทฺธจฺจํ. ณฺย ปัจ. กัจฯ และ รูปฯ ลง ย ปัจ.
  44. อุทฺธฏ : (นปุ.) ความฟุ้งซ่าน. วิ. อุทฺธํ อฏติ จิตฺต เมเตนาติ อุทฺธฏํ. อุทฺธํปุพฺโพ, อฏฺ คมเน, อ.
  45. อุทฺธรณ : (นปุ.) การยกขึ้น, การรื้อขึ้น, ความยกขึ้น, ความรื้อขึ้น. ไทยใช้คำ อุทธรณ์ หมายถึงการฟ้องร้องต่อศาลที่สอง (ศาล อุทธรณ์) เพื่อขอร้องให้ศาลรื้อฟื้นเรื่องขึ้น พิจารณาและตัดสินใหม่. อุปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, ยุ. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ. ส. อุทฺธรณ.
  46. อุทฺธู : (ปุ.) ความหวั่นไหวในเบื้องบน.
  47. อุทยตฺถิก : ป. ผู้ปรารถนาความเจริญ
  48. อุทยน : นป. การขึ้นไป, ความเจริญ
  49. อุทยพฺพย : (นปุ.) ความตั้งขึ้นและความเสื่อม ไป, ความเกิดและความดับ. อุทย+วย แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ.
  50. อุทยพฺพยานุปสฺสนญาณ อุทยพฺพยานุปสฺสนาญาณ : (นปุ.) ญาณพิจารณาเห็นทั้งความเกิดทั้งตามดับ, ปรีชาคำนึงเห็นทั้งความเกิดทั้ง ความดับ, ปรีชาคำนึงเห็นความเกิดและ ความดับ, ปัญญาพิจารณาเห็นความเกิด และความดับ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | [3501-3550] | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3709

(0.1250 sec)