Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความรุนแรง, รุนแรง, ความ , then ความ, ความรนรง, ความรุนแรง, รนรง, รุนแรง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความรุนแรง, 3709 found, display 601-650
  1. ฉนฺทาธิปเตยฺย : ค. ตกอยู่ในอำนาจความรักใคร่หรือพอใจ, มีความรักใคร่พอใจเป็นใหญ่
  2. ฉนฺทานูมคิ : (อิต.) ความรู้ตามโดยความพอใจ ความยินยอมตามโดย ความพอใจ, ความเห็นชอบตามด้วยความพอใจ.
  3. ฉนฺทามุนีต : ค. ซึ่งถูกความพอใจนำไปแล้ว
  4. ฉนฺทิก : ค. มีความพอใจ, มีความพยายาม
  5. ฉนฺทีกต : อิต. มีความพอใจ, มีความพยายาม
  6. ฉมฺภิตตฺต : (นปุ.) ความหวาดหวั่น, ความสะดุ้ง, ความหวาดเสียว, ความครั่นคร้าม. ฉภิ อุตฺราเส, โต, ลงนิคคหิตและอิอาคม ได้ รูปเป็น ฉมฺภิต แล้วลง ตฺต ปัจ. ภาวตัท. สะกัด.
  7. ฉล : (นปุ.) การล่อลวง, การโกง, การพลั้ง – พลาด, ความล่อลวง, ฯลฯ. ขลฺ จลเน, อ, ขสฺส โฉ. ส. ฉล.
  8. ฉวิกลฺยาณ : นป. ความงามแห่งผิว
  9. ฉาตก : ๑. นป. ความหิว; ความอยาก, ความกระหาย ; ๒. ค. ดู ฉาต
  10. ฉาตกภย : (นปุ.) ภัยคือความหิว วิ. ฉาตโก เอว ภยํ ฉาตกภยํ. ภัยอันเกิดจากความหิว วิ. ฉาตกมฺหา ชาตํ ภยํ ฉาตกภยํ. ไทยใช้ ฉาตกภัยในความหมายว่า ภัยอันเกิดจาก ไม่มีอาหารการกิน ข้าวยากหมากแพง ภัย อันเกิดจากความแห้งแล้ง.
  11. ฉาต ฉาตก : (ปุ. นปุ.) ความอยาก, ฯลฯ.
  12. ฉาตชฺฌตฺต : (วิ.) อันความหิวเผาแล้ว, อัน ความหิวให้เหี้ยมเกรียมแล้ว.
  13. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  14. ฉิชฺชน : (วิ.) ขาด, ทะลุ, แตก, สลาย, เสียหาย, ผิด. ฉิทฺ ธาตุ ในความตัด, ฯลฯ. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  15. ฉิทฺทตา : อิต. ความเป็นคือรอยแตกหรือช่อง, รอยแตก, ช่อง, รู
  16. ฉินฺนสสย : ค. ผู้มีความสงสัยขาดแล้ว, ผู้หมดความสงสัย
  17. ฉินฺนาส : ค. ผู้มีความหวังอันขาดแล้ว, ผู้หมดหวัง
  18. เฉกตา : อิต. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ฉลาด, ความฉลาดเฉียบแหลม
  19. เฉกปาปก : (ปุ.) คุณและโทษ, ความดีและ ความชั่ว.
  20. ชคฺค : นป. ความตื่นตัว, การดูแล, การเอาใจใส่
  21. ชคฺฆ ชคฺฆิ : (ปุ.?) การร่าเริง, การรื่นเริง, การหัวเราะ, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. ชคฺฆฺ หสเน, อ, อิ. ชคฺฆิตาเย เพื่ออันหัวเราะ. ตาเย ปัจ.
  22. ชคู : (ปุ.) สัตว์ผู้ถึงความเกิด (จากตาย) วิ. จุติโต ชาตึ คจฉตีติ ชคู. ชาตปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, รู. ลบ ติ เหลือ ชา รัสสะ และลบ ที่สุดธาตุ.
  23. ชจฺจ : (นปุ.) ความเกิด, ความบังเกิด, กำเนิด. ชาติ. ชนฺ ชนเน, โย. แปลง นฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แล้วแปลงเป็น จฺจ.
  24. ชจฺจนฺธกิจ : (วิ.) ประกอบในความบอดแต่ กำเนิด, ประกอบด้วยความบอดโดยกำเนิด วิ. ชจฺจนฺเธ ชจฺจนฺเธน วา นิยุตฺโต ชจฺจนฺชกิโย. กิย ปัจ.
  25. ชฎา : (อิต.) ความอยาก, ความปรารถนา, กิเลส, ตัณหา. วิ. เตสุ อารมฺมเณสุ อากุ- ลีภูตตฺตา ชฎา วิยาติ ชฏา.
  26. ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
  27. ชนนฺติก : นป. การกระซิบความลับ
  28. ชนปท : (ปุ.) ตำบล, บ้านเมือง, ประเทศถิ่น. ไทยใช้ ชนบท ในความหมายว่า พื้นที่ หรือ เขตแดนที่อยู่นอกเขตเมืองหลวง บ้านนอก. ส. ชนบท.
  29. ชนปทตฺถาวริย : นป. ความถาวรหรือมั่นคงแห่งชนบท
  30. ชปน ชปฺปน : (นปุ.) การกล่าว, การร่าย, การกระซิบ, ความปรารถนา. ชปฺ ชปฺป วจเน มานเส จ, ยุ.
  31. ชปฺปนา : (อิต.) ความให้สัตว์เหนี่ยวรั้ง. ชปฺปฺ วจเน, ยุ.
  32. ชปฺปา : (อิต.) ความปรารถนา, ความเหนี่ยรั้ง.
  33. ชปฺปา, ชปฺปนา : อิต. ความโลภ, ความอยากได้, ความหิว; การพูดเพื่อให้ได้มา
  34. ชปฺปิตตฺต : (นปุ.) ความที่แห่งจิตเป็นจิตเหนี่ยว รั้ง, ความที่จิตเหนี่ยวรั้ง.
  35. ชมฺภาริ : (ปุ. อิต.) อาวุธพระอินทร์, ไฟ, แสง ไฟ (กำจัดความมืด). ชภิ นาสเน, ริ, นิคฺคหิตาคโม.
  36. ชมฺมน : นป. ความเกิด, การสืบสายโลหิต
  37. ชมฺมี : (ปุ.) ผู้มีความต่ำ,ฯลฯ. อีปัจ. ตทัสสัตถิตัท
  38. ชยน : (นปุ.) ความชนะ, ความมีชัย. ยุ ปัจ.
  39. ชยมงฺคล : นป. ชัยมงคล, โชคดีแห่งความชนะ
  40. ชยสิทฺธิ : (อิต.) ความสำเร็จแห่งความชนะ, ความสำเร็จแห่งชัยชนะ.
  41. ชรตา : (อิต.) ความแก่, ฯลฯ. วิ. ชิยฺยนฺติ วุทฺธา ภวนฺติ อสฺสนฺติ ชรา. ชรา เอว ชรตา. ตาปัจ. สกัด. ความเป็นแห่งคนแก่. ตาปัจ, ภาวตัท.
  42. ชรา : (อิต.) ความแก่, ฯลฯ. วิ. ชรณํ ชรา.
  43. ชราชชฺชริต : (วิ.) อันความชราให้คร่ำคร่าแล้ว.
  44. ชราชิณฺณมหลฺลก : (วิ.) ผู้ถือเอาซึ่งความเป็น แห่งคนแก่อันความชราให้คร่ำคร่าแล้ว, ผู้ แก่เพราะอันความชราให้คร่ำคร่าแล้ว.
  45. ชราชิณฺณมหลฺลกิตฺถีวณฺณ : (ปุ.) เพศแห่ง หญิงแก่อันความชราให้คร่ำคร่าแล้ว.
  46. ชราทุกฺข : นป. ความทุกข์เพราะชรา
  47. ชราธมฺม : ค. มีความแก่หรือคร่ำคร่าเป็นธรรมดา
  48. ชราปตฺต : ค. ซึ่งถึงความคร่ำคร่าหรือชรา, ชรา, แก่
  49. ชราพฺยาธิมรณมิสฺสตา : (อิต.) ความที่แห่ง ชาตินั้นเป็นชาติเจือด้วยชราและพยาธิและ มรณะ, ความที่แห่งชาตินั้นเป็นของมีชรา และพยาธิและมรณะเจือปน.
  50. ชราภย : นป. ความกลัวแต่ความชราหรือความเสื่อมโทรม
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | [601-650] | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3709

(0.1182 sec)