Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความระวัง, ระวัง, ความ , then ความ, ความระวัง, รวง, รวํ, ระวัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความระวัง, 3720 found, display 3651-3700
  1. อุสฺโสฬฺหิกา : อิต. มีความพยายาม, มีความเพียร
  2. อุสา : อิต. อาหาร; แม่วัว; ความร้อน; กลางคืน
  3. อุสุม : (ปุ.) ไอ, ไอน้ำ, ไออุ่น, ไอชุ่ม, ไออบ, ความร้อน, ฤดูร้อน, อรสุม. เรียกพยัญชนะ ที่มีลมเสียดแทรกออกมาตามฟัน ว่ามีเสียง อรสุม ได้แก่เสียง ศ, ษ, ส. ส.อุษฺม อุษมนฺ.
  4. อุสุยฺยนา : อิต. ความริษยา, ความไม่อยากให้คนอื่นได้ดี
  5. อุสุยา อุสฺสูยา อุสูยา : (อิต.) ความริษยา, ฯลฯ. อุสูยฺ โทสาวิกรเณ, อ.
  6. อุฬารตา : อิต. ความโอฬาร, ความยิ่งใหญ่, ความประเสริฐ
  7. อุฬุก อุฬุงฺก : (ปุ.) แปลเหมือน อุหุการ. อุหุ  บทหน้า กา ธาตุ ในความร้อง อ ปัจ. แปลง ห เป็น ฬ เป็น อุลุงฺก อุฬูก บ้าง.
  8. อูนตฺต : (นปุ.) ความหย่อน, ฯลฯ. ตฺต ปัจ. สกัดให้เป็นนาม.
  9. อูนตา : อิต. อูนตฺต นป. ความหย่อน, ความพร่อง
  10. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  11. เอกคฺคตา : (อิต.) ความเป็นแห่งจิตมีอารมณ์ เดียว, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีจิต แน่วแน่อยู่ในอารมณ์เดียว, ความที่แห่งจิต เป็นจิตมีอารมณ์เดียว (ไม่ฟุ้งซ่าน), ฯลฯ, สมาธิ, อัปปนาสมาธิ.
  12. เอกฉนฺท : (วิ.) มีความพอใจอย่างเดียวกัน, มี ความมุ่งหมายอย่างเดียวกัน, มีความเห็น เป็นอย่างเดียวกัน.
  13. เอกตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งธรรมหมวด เดียว, ความเป็นแห่งธรรมหมวดเดียวกัน, ความเป็นธรรมหมวดเดียวกัน.
  14. เอกโต : (อัพ. นิบาต) โดยส่วนเดียว, โดยส่วน- เดียวกัน, โดยความเป็นอันเดียวกัน, โดย ข้างเดียว, ข้างเดียว, รวมกัน, ร่วมกัน.
  15. เอกภาว : (ปุ.) ความเป็นหนึ่ง, ความเป็นอัน เดียวกัน. เอกภาว ไทยนำมาใช้ว่าเอกภาพ (แปลง ว เป็น พ) และออกเสียงว่า เอกกะภาพ ในความหมายว่า ความเป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน ความสอดคล้อง กลมกลืนกัน.
  16. เอกรชฺช : นป. ความเป็นพระราชาแต่พระองค์เดียว
  17. เอกลกฺขณ : (นปุ.) เครื่องหมายว่าเป็นหนึ่ง, ลักษณะว่าเป็นหนึ่ง. เอก + อิติ + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันเป็น หนึ่ง, ลักษณะอันเป็นเอก. เอก + ลักฺขณ. เครื่องหมายแห่งความเป็นหนึ่ง, เครื่องหมายแห่ง ความเป็นเอก, ลักษณะแห่ง ความเป็นหนึ่ง, ลักษณะแห่งความเป็น เอก. เอกภาว + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะ อันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันแสดงถึง ความเป็นเอก, ลักษณะที่แสดงความเป็น เอก (ของสิ่งนั้น ๆ). เอกภาว + เทสน + ลกฺขณ. ลบศัพท์ในท่ามกลาง. ส. เอก ลกฺษณ. ไทยใช้ เอกลักษณ์ ตามสันสกฤต ออกเสียงว่า เอกกะลักษณ์ ในความหมาย ว่า ลักษณะที่เหมือนกันหรือมีร่วมกัน.
  18. เอกสิกตา : อิต. ความเป็นอันใดอันหนึ่ง, ความแน่นอน
  19. เอกีภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เดียว, ความเป็นคนผู้เดียว, ความเป็นผู้ผู้เดียว.
  20. เอโกทิภาว : ป. ความแน่วแน่, ความเป็นสมาธิ
  21. เอชฺชา : (อิต.) ความปรารถนา, ความอยากได้, ความหวั่นไหว. วิ. อญฺชนํ เอชฺชา. อิญฺช กมฺปเน, โณฺย.
  22. เอชา : (อิต.) เอชา ชื่อของตัณหา, ตัณหา, เอชา วุจฺจติ ตณฺหา. ความปรารถนาจัด, ความอยากได้จัด, ความปรารถนา. ความอยากได้, ความแสวงหา, ความหวั่นไหว. วิ เอชตีติ เอชา. เอชฺ กมฺปเน, อ. เอชนํ วา เอชา.
  23. เอฏฐิ : อิต. ความอยาก, ตัณหา, การแสวงหา
  24. เอฏฺฐิ : (อิต.) ความปรารถนา, ความอยากได้, ความชอบใจ, ความแสวงหา. อิสฺ คเวสเน, ติ, ติสฺส ฏฺฐิ, อิสฺเส, สฺโลโป.
  25. เอตาทิส เอทิกฺข เอริกฺข เอทิส เอริส เอที : (วิ.) เห็น...นั้นประดุจ...นี้, เห็นซึ่งบุคคล นั้นประดุจบุคคลนี้, เห็นบุคคลนั้นราวกะ ว่าบุคคลนี้, เห็นปานนี้. วิ. เอตมิว นํ ปสฺสตีติ เอตาทิโส, ฯลฯ. เอตศัพท์ซึ่ง แปลงมาจาก อิม เป็น บทหน้า ทิสฺ ธาตุ ในความเห็น กฺวิ ปัจ. ศัพท์แรก ทีฆะ อ ที่ ต ศัพท์หลัง ๆ แปลง เอต เป็น เอ ศัพที่ ๒ และ ๓ แปลง สฺ เป็น กฺข ศัพท์ ที่ ๓ และ ๕ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๖ ลบ ที่สุดธาตุ แปลง อิ เป็น อี. รูปฯ ๕๗๒.
  26. เอล : ๑. ป. กระวาน; ๒. นป. โทษ, บาป, ความชั่ว
  27. เอส : (ปุ.) การแสวงหา, การค้นหา, ความแสวงหา, ฯลฯ. เอส มคฺคเน, อ, ยุ.
  28. เอสน : (นปุ.) การแสวงหา, การค้นหา, ความแสวงหา, ฯลฯ. เอส มคฺคเน, อ, ยุ.
  29. เอสนา : (อิต.) การแสวงหา, การค้นหา, ความแสวงหา, ฯลฯ. เอส มคฺคเน, อ, ยุ.
  30. เอหิภิกฺขุภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งเอหิภิกษุ.
  31. โอกฺกม : (ปุ.) การหยั่งลง, การย่างลง, การก้าวลง, ความหยั่งลง, ฯลฯ. โอปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
  32. โอกฺกมน : (นปุ.) การหยั่งลง, การย่างลง, การก้าวลง, ความหยั่งลง, ฯลฯ. โอปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
  33. โอกญฺชห : (ปุ.) การละความอาลัย. โอกปุพฺ โพ, หา จาเค, อ, เทฺวภาโว, รสฺโส, หสฺส โช, ญฺสํโยโค. โอกนฺติ โอกฺกนฺติ
  34. โอกปฺปนา : อิต. การทำให้แน่วแน่, ความไว้วางใจ, ความเชื่อมั่น
  35. โอกปฺปนา โอกฺกปฺปนา : (อิต.) ความเชื่อ, ความเชื่อถือ. โอปุพฺโพ, กปฺ สามตฺถิเย, ยุ, อิตฺถิยํ อา.
  36. โอกาส : (ปุ.) ช่อง, ช่องเป็นที่ไถลง, ที่แจ้ง, ที่ว่าง, เหตุ, การณะ, เวลา, สถานที่, เทสะ, เอกเทศ, ทาง, ทนทาง. อวปุพฺโพ, กสฺ วิเลขเน, โณ. ไทย โอกาส (โอกาด) ใช้ ในความหมายว่า เวลาที่เหมาะสม เวลาที่เหมาะ ช่องที่เหมาะ อุ. ได้โอกาส การอนุญาต อุ. ให้โอกาส. ส. อวกาศ.
  37. โอจรติ : ก. ค้นหา, สืบความลับ, ไต่สวน
  38. โอจิตฺย : นป. ความเหมาะสม, ความสมควร
  39. โอจินน : นป. ความเหมาะสม, การเก็บ
  40. โอชวนฺตตา : อิต. ความมีโอชะ, ความมีน้ำหล่อเลี้ยง, ความมีกำลัง
  41. โอตฺตปฺป : นป. ความเกรงกลัวต่อบาป, ความสะดุ้งต่อบาป
  42. โอตฺตปฺปี, - ตาปี : ค. มีความกลัวต่อบาป, มีความสะดุ้งต่อบาป
  43. โอตปฺป โอตฺตปฺป : (นปุ.) ความสะดุ้ง, ความเกรงความผิด (เกรง คือ กลัว), ความกลัว, ความเกรงกลัว, ความสะดุ้งกลัวต่อบาป, ความเกรงกลัวต่อบาป, ความกลัวต่อบาป, ความสะดุ้งกลัวต่อผลของความชั่ว, ความเกรงกลัวต่อผลของความชั่ว, ความกลัว บาป. วิ. โอตฺตปฺปติ ปาปโตติ โอตปฺปํ โอตฺตปฺปํ วา. อวปุพฺโพ, ตปฺ อุพฺเพเค, อ. แปลง ป เป็น ปฺป ศัพท์หลังซ้อน ตฺ.
  44. โอตรณ : (นปุ.) การข้ามลง, ความข้ามลง. โอปุพฺโพ, ตรฺ ตรเณ, ยุ.
  45. โอทคฺย : นป. ความปิติยินดี, ความร่าเริง
  46. โอปกฺกม : (ปุ.) ความเพียร, อุปกฺกมศัพท์ พฤทธิ์ อุ เป็น โอ.
  47. โอปกฺกมิก : (วิ.) มีความเพียร, เกิดเพราะ ความเพียร.
  48. โอปรชฺช : นป. ความเป็นพระราชาผู้รอง, ตำแหน่งอุปราช
  49. โอภ : (ปุ.) ความเต็ม, ความบริบูรณ์. อุภฺ ปูรเณ, โณ.
  50. โอภาส : (ปุ.) ความรุ่งเรือง, ความสว่าง, ความสวยงาม, ความสุกใส, ความเปล่ง ปลั่ง, รัศมี, แสง, แสงสว่าง. อวปุพฺโพ, ภาสฺ ทิตฺติยํ โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | [3651-3700] | 3701-3720

(0.1180 sec)