Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเกี่ยวข้อง, เกี่ยวข้อง, ความ , then กยวของ, เกี่ยวข้อง, ความ, ความกยวของ, ความเกี่ยวข้อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเกี่ยวข้อง, 3721 found, display 201-250
  1. กายทุกฺข : นป. ทุกข์ทางกาย, ความลำบากกาย
  2. กายทุจฺจริต : (นปุ.) ความประพฤติชั่วอันสัตว์ ทำแล้วด้วยกาย, ความประพฤติชั่วอัน บุคคลทำแล้วด้วยกาย. วิ. กาเยน กตํ. ทุจฺจริตํ กายทุจฺจริตํ. ความประพฤติชั่ว ด้วยกาย, ความประพฤติชั่วทางกาย. วิ. กาเยน ทุจฺจริตํ กายทุจฺจริตํ.
  3. กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
  4. กายทุจฺจริตาทิอกุสลกมฺมาภิรต : (วิ.) ผู้ยินดี ยิ่งแล้วด้วยกรรมมิใช่กุศลมีความประพฤติ ชั่วด้วยกาย เป็นต้น.
  5. กายทุฏฐุลฺล : นป. ความประพฤติชั่วหยาบทางกาย
  6. กายบริหาร : (ปุ.) การรักษาร่างกาย, การดูแลร่างกาย. คำกายบริหาร ไทยใช้ในความหมายว่า การบำรุงร่างกาย การออกกำลัง เพื่อรักษาร่างกาย.
  7. กายปโกป, - ยปฺปโกป : ป. ความกำเริบทางกาย, ความประพฤติผิดทางกาย
  8. กายปฏิพทฺธ : ค. ที่เนื่องด้วยกาย, เกี่ยวข้องด้วยกาย
  9. กายปโยค : ก. การประกอบทางกาย, ความพยายามทางกาย
  10. กายประสาท, - ยปฺปสาท : ป. กายประสาท, ความรู้สึกทางกาย
  11. กายปสฺสทฺธิ : อิต. ความสงบระงับแห่งนามธรรมหรือเจตสิก, ความสงบระงับแห่งกองเวทนา, สัญญาและสังขาร
  12. กายปาคพฺภินิย : นป. ความคะนองกาย, ความไม่สุภาพ
  13. กายปาคุญฺญตา : อิต. ความคล่องแคล่วของกาย, ความคล่องแคล่วแห่งกองเวทนา, สัญญาและสังขาร
  14. กายปาคุญฺญ ตา : (อิต.) ความคล่องแคล่วแห่งกาย, ความแคล่วคล่องแห่งกาย. ตา ปัจ. สกัด. กายปุญฺฉน
  15. กายผนฺทิต : นป. ความดิ้นรนทางกาย
  16. กายมจฺเฉร : อิต. ความตระหนี่ร่างกาย, ความเห็นแก่ตัว
  17. กายมุทุตา : อิต. ความอ่อนของร่างกาย, ความอ่อนแห่งนามธรรมคือเจตสิก
  18. กายโมเนยฺย : นป. ความเป็นปราชญ์ด้วยการทรมานกาย; ข้อปฏิบัติที่ให้ถึงความเป็นผู้นิ่งได้ด้วยการฝึกหัดกาย
  19. กายลหุตา : (อิต.) ความเบาแห่งกาย. ตา ปัจ. สกัด เพื่อให้ศัพท์คุณเป็นนามนาม.
  20. กายวงฺก : ป. ความคดแห่งกาย, ความประพฤติที่ไม่ซื่อตรงทางกาย, กายทุจริต
  21. กายวิการ : ป. กายวิการ, ความพิการทางร่างกาย
  22. กายวิชมฺภน : นป. ความว่องไวของร่างกาย, การบิดกาย
  23. กายวิญฺญาณ : นป. ความรู้สึกในกายสัมผัส, ความรู้แจ้งอารมณ์ด้วยกายคืออาการที่รู้ว่าสัมผัส
  24. กายวิปฺผนฺทน : นป. ความดิ้นรนทางกาย, ความไหวกาย
  25. กายวิเวก : ป. ความสงัดกาย, ที่สงัดเงียบกาย, กายสันโดษ
  26. กายสญฺเจตนา : อิต. ความจงใจทำด้วยกาย, ความแกล้งทำด้วยกาย
  27. กายสมฺผสฺส : ป. การสัมผัสด้วยกาย, ความรู้สึกทางสัมผัส
  28. กายสมาจาร : (ปุ.) ความประพฤติดีด้วยกาย, ความประพฤติชอบด้วยกาย, ความประพฤติดีทางกาย. กายสิทฺธิ
  29. กายสสคฺค : ป. การจับต้องกาย, การสัมผัสกาย, การเกี่ยวข้องทางกาย
  30. กายสุจริต : นป. กายสุจริต, ความประพฤติชอบทางกาย
  31. กายสุจิ, กายโสเจยฺย : นป. ความสะอาดแห่งกาย, กายบริสุทธิ์
  32. กายายตน : นป. สิ่งที่เป็นสื่อรับความรู้สึกจากภายนอกมาสู่กาย, สื่อทางกาย
  33. กายิกเจตสิกวิริย : (นปุ.) ความเพียรอันเป็น ไปทางกาย และความเพียรอันเป็นไป ทางจิต, ความเพียรอันเป็นไปในกายและ ความเพียรอัน เป็นไปในจิต. ลบ วิริย ของ ศัพท์ต้น.
  34. กายินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่ในกาย, ความเป็นใหญ่คือกาย, ความเป็นใหญ่ใน หน้าที่ของตนคือกาย?
  35. กายุชฺชุกตา : อิต. ความตรงของกาย
  36. การิกา : (อิต.) การทำ, ความพอใจ, ปัชชะ (ฉันท์). วิ. กรณํ กาโร, โส เอว การิกา. ณิก ปัจ. สกัด.
  37. การุญฺญ : นป., การุญฺญตา อิต. ความกรุณา, ความเอ็นดู
  38. การุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเอ็นดู, ความเป็นแห่งความสงสาร, ความเป็นแห่ง ความกรุณา. วิ. กรุณาย ภาโว การุญฺญํ. ณฺยปัจ. ภาวตัท. ความเอ็นดู, ความสงสาร, ความกรุณา, การุณย์. ณฺย ปัจ. สกัด รูปฯ ๓๗๑. ส. การุณฺย.
  39. การุณิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยความเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาย นิยุตฺโต การุณิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้มีความกรุณา วิ. กรุณาย อสฺส อตฺถีติ การุณิโก. กรุณา ตสฺมึ อตฺถีติ วา การุณิโก. อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ผู้มี ความเอ็นดูเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. กรุณา สีลํ อสฺสาติ การุณิโก. ผู้มีปกติเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาสีโลการุณิโก. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  40. กาลกต : (วิ.) ผู้อันความตายทำแล้ว, ผู้อัน ความตายคือ มัจจุทำแล้วคือให้พินาศแล้ว วิ. กาเลน มจฺจุนา กโต นาสิโต กาลกโต. ผู้มีกาละอันทำแล้ว, (ตายแล้วสิ้นชีพแล้ว), มรณะ, มรณภาพ, สิ้นพระชนม์, ฯลฯ.
  41. กาลกิริยา : (อิต.) การทำซึ่งความตาย, ความตาย, วิ. กาโล อตีตาทิ, ตสฺส กิริยา กาลกิริยา. ไทยใช้ กาลกิริยา เป็น กริยา ว่า ตาย.
  42. กาลจฺจย : (ปุ.) สมัยอันเป็นไปล่วงแห่งกาล, ความเป็นไปล่วงแห่งกาล, กาลอันเป็น ไปล่วง.
  43. กาลญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ จักกาล. กาลญฺญู+ตา ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ ในเพราะตาปัจ.
  44. กาสาย กาสาว : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยรสฝาด, ผ้าอันบุคคลย้อมแล้วด้วยน้ำ ฝาด, ผ้าย้อมด้วยรสฝาด, ผ้าย้อมด้วยน้ำ ฝาด, ผ้ากาสายะ, ผ้ากาสาวะ, จีวร. วิ. กสาเยน กสาเวน วา รตฺตํ วตฺถํ กาสายํ กาสาวํ วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. คำจีวรใน ที่นี้ หมายเอาเฉพาะผ้าที่ย้อมด้วยน้ำฝาดใน ความหมายของพระพุทธศาสนา.
  45. กาฬกณฺณี : อิต. ความจัญไร, ความเป็นเสนียด
  46. กิจฺจญ าณ : (นปุ.) ความรู้ซึ่งกรรมอัน...พึงทำ, ฯลฯ, กิจจญาณ ชื่อของญาณอย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่างของการเจริญอริยสัจ ๔ ได้แก่รู้ว่า ทุกข์เป็นของที่ควรกำหนดรู้ สมุทัยเป็น ของที่ควรจะ นิโรธ เป็นของที่ควรทำให้ แจ้ง มรรคเป็นของที่ควรทำให้เกิดมี.
  47. กิจฺจยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งหน้าที่, ความเป็นหน้าที่. กิจฺจ+ยฺ และ อ อาคม ตา ปัจ.
  48. กิจฺจลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอัน...พึงทำ, การกำหนดสิ่งที่พึงทำ, กิจจลักษณะ, กิจลักษณะ. ไทยใช้กิจจลักษณะเป็นวิเศษ ในความหมายว่า เป็นการเป็นงานเป็น เรื่องเป็นราว เป็นระเบียบเรียบร้อย.
  49. กิจฺจวตฺต : (นปุ.) ความประพฤติอัน...พึงทำ, ฯลฯ, ความประพฤติตามหน้าที่, เรียกกิจ ทางศาสนาที่จะพึงทำเป็นประจำ เช่น ทำ วัตรเช้า ทำวัตรเย็น เป็นต้นว่า กิจวัตร. กิจที่ทำเสมอ ๆ แม้มิใช่กิจทางศาสนาก็ เรียกกิจวัตรได้บ้าง ผู้เขียนมีความเห็นว่า ควรยกไว้เป็นศัพท์เฉพาะกิจทางศาสนา เหมาะกว่า.
  50. กิญฺจญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี ความกังวล, ฯลฯ. กิญฺจน+ณฺย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺ ลบ ณฺ รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3721

(0.1150 sec)