Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเกี่ยวข้อง, เกี่ยวข้อง, ความ , then กยวของ, เกี่ยวข้อง, ความ, ความกยวของ, ความเกี่ยวข้อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเกี่ยวข้อง, 3721 found, display 2651-2700
  1. อจฺฉริยพฺภูตชาต : (วิ.) มีเหตุน่าอัศจรรย์ไม่เคยเป็นแล้วเกิดแล้ว, มีความอัศจรรย์ไม่เคยเป็นแล้วเกิดแล้ว, มีเหตุอันอัศจรรย์เกิดแล้ว.
  2. อจฺฉริยอจฺฉิริยอจฺเฉร : (นปุ.) เหตุควร, เพื่ออันปรบซึ่งมือ, เหตุน่าอัศจรรย์, ความอัศจรรย์.วิ. อจฺฉรํปหริตุยุตฺตนฺติอจฺฉริยํ. อาปุพฺโพ, จรฺ จรณคตีสุ, กฺวิ.กัจฯ ๖๓๙ อาเทส จรฺเป็นจฺฉรจฺฉริยและ จฺเฉร รัสฺสะอา บทหน้าเป็นอ
  3. อจฺฉริย อจฺฉิริย อจฺเฉร : (นปุ.) เหตุควร, เพื่ออันปรบซึ่งมือ, เหตุน่าอัศจรรย์, ความอัศจรรย์. วิ. อจฺฉรํ ปหริตํ ยุตฺตนฺติ อจฺฉริยํ. อาปุพฺโพ, จรฺ จรณคตีสุ, กฺวิ. กัจฯ ๖๓๙ อาเทส จรฺ เป็น จฺฉร จฺฉริย และ จฺเฉร รัสฺสะ อา บทหน้าเป็น อ.
  4. อจลอจฺจจล : (ปุ.) ความไม่ไหว, ฯลฯ, ประเทศ ไม่มีความหวั่นไหว, ภูเขา, สลัก, ลิ่ม.
  5. อจล อจฺจจล : (ปุ.) ความไม่ไหว, ฯลฯ, ประเทศ ไม่มีความหวั่นไหว, ภูเขา, สลัก, ลิ่ม.
  6. อจินฺเตยฺย : (วิ.) อันบุคคลไม่ควรคิด, อันใครๆไม่ควรคิด(พ้นความคิด), ไม่ควรคิด.
  7. อชฺชว : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ซื่อตรง, ความเป็นแห่งคนซื่อตรง, ความเป็นคนซื่อตรง.วิ. อุชุโน ภาโว อชฺชวํ.ณปัจ.ภาวตัท. แปลง อุ เป็น อ แปลง อุ ที่ ชุเป็น อว แปลง ช เป็น ชฺช. ความซื่อตรง.ณ ปัจ. สกัต.
  8. อชฺชว, อาชฺชว : ป., นป. ความซื่อตรง
  9. อชฺโชต : (ปุ.) ความรุ่งเรือง, แสง, แสงสว่าง.อาปุพฺโพ, ชุตฺ ทิตฺติยํ, โณ. แปลง อุ เป็นโอ รัสสะ ซ้อน ชฺ.
  10. อชฺฌาจาร : (ปุ.) ความประพฤติล่วง, ความประพฤติล่วงมารยาท, ความล่วง (หมายเอาเมถุน), อัชฌาจารอัธยาจาร(การละเมิดประเพณีการเสพเมถุนความประพฤติชั่วความประพฤติละเมิดพระวินัย)ฏีกา ฯแก้เป็นมริยาทาติกฺกมการล่วงละเมิดมารยาท.
  11. อชฺฌาชีว : ป. ความเป็นอยู่อย่างเข้มงวด, วิถีชีวิต
  12. อชฺฌาสย : (ปุ.) ฉันทะมานอนทับซึ่งตน, ฉันทะเป็นที่มานอนทับ, ฉันทะเป็นที่มานอนทับแห่งจิตอันยิ่ง, สภาพอันอาศัยซึ่งอารมณ์เป็นไป, สภาพที่จิตอาศัย, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความจุใจ, ความเอาใจใส่, ความประสงค์, ความนิยม, อัชฌาสัย, อัธยาศัย (นิสัยใจคอ).วิ.จิตฺตมชฺฌาคนฺตฺวาสยตีติอชฺฌาสโย.อธิอาปุพฺโพ, สิปวตฺติยํ, อ.คำอัชฌาในวรรณคดี ตัดมาจากคำนี้.ส.อธฺยาศย.
  13. อชฺฌาสยตา : อิต. ความปรารถนา, ความต้องการ
  14. อชฺฌุเปกฺขน : นป. อชฺฌุเปกฺขนา อิต. อุเบกขา, ความวางเฉย, การเฝ้าดู
  15. อชฺโฌสาน : (นปุ.) การหยั่งลง, ความหยั่งลง.ความติดใจ, ความชอบใจ, ความพอใจ.อธิ อว ปุพฺโพ, สา โอสานอสฺสาทเนสุ, ยุ
  16. อชานน : ป., นป. ความไม่รู้, อวิชชา
  17. อญฺจติ : ก. ๑. ถึงความพินาศ ๒. บูชา
  18. อญฺชลิกา : อิต. การยกมือขึ้นแสดงความเคารพ
  19. อญฺชลิอญฺชลีอญฺชุลี : (ปุ.) การประนมมือ, การไหว้ (ส่วนใหญ่ใช้ในความหมายว่าประนมมือ), ประนมมือ, กระพุ่มมือ, กระพุ่มมืออันรุ่งโรจน์โดยยิ่ง, อัญชลี, อัญชุลี, ชุลึ (ตัด อัญ ออก).วิ. อญฺเชติภตฺติ มเนน ปกาเสตีติ อญฺชลิ อญฺชลี วา, อญฺชฺ ปกาสเน, อลิ, อลี.สนามหลวงแผนกบาลี ปี ๒๕๑๗ เฉลยเป็นอิต.ส.อญฺชลิ.
  20. อญฺชลิ อญฺชลี อญฺชุลี : (ปุ.) การประนมมือ, การไหว้ (ส่วนใหญ่ใช้ในความหมายว่า ประนมมือ), ประนมมือ, กระพุ่มมือ, กระพุ่มมืออันรุ่งโรจน์โดยยิ่ง, อัญชลี, อัญชุลี, ชุลึ (ตัด อัญ ออก). วิ. อญฺเชติ ภตฺติ มเนน ปกาเสตีติ อญฺชลิ อญฺชลี วา, อญฺชฺ ปกาสเน, อลิ, อลี. สนามหลวง แผนกบาลี ปี ๒๕๑๗ เฉลยเป็น อิต. ส. อญฺชลิ.
  21. อญฺญตฺต : (นปุ.) ความเป็นอย่างอื่น, ความเป็นประการอื่น.วิ. อญฺญสฺสปการสฺสภาโวอญฺญตฺตํ
  22. อญฺญถต : นป. ความเปลี่ยนแปลง, การเป็นอย่างอื่น, ความแตกต่าง
  23. อญญถตฺต : (นปุ.) ความเป็นโดยประการอื่น, ความเป็นอย่างอื่น.
  24. อญฺญถาภาว : (ปุ.) ความเป็นโดยประการอื่นความเป็นอย่างอื่น, ความแปรปรวน, ความเปลี่ยนแปลง, ความตรงกันข้าม, ความต่อสู้, วิปลาส.วิ.อญฺเญน ปกาเรนภาโว อญฺญถาภาโว.
  25. อญฺญมญฺญ : (วิ.) กันและกัน.วิ. อญฺญํอญฺญอญฺญมญฺญํ.ํมฺอาคมไทยใช้เป็นภาษาพูดว่าอัญญมัญญังในความหมายว่า ซึ่งกันและกัน.
  26. อญฺญาณ : (นปุ.) ความรู้.ยุปัจ.
  27. อญฺญาปฏิเวธ : (ปุ.) ความแทงตลอดพระอรหัตผล, การบรรลุพระอรหัตผล
  28. อฏฺฏการ : ป. ลูกความ, คู่ความ
  29. อฏฺฏิ : (อิต.) ความเบียดเบียน, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, แผล.อฏฺฏ อนาทาเร, อิ.
  30. อฏฺฏิยนา : (อิต.) ความระอา, ความเบื่อ, ความลำบาก.อฏฺฏฺอนาทาเร.ณฺยปัจ.ประจำธาตุยุปัจ.อิอาคมอาอิต.
  31. อฏฺฏียน : นป. ความไม่พอใจ, ความตกใจ
  32. อฏฺฐกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องอัน....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ, อรรถกถา (คำอธิบายบาลีพุทธพจน์ที่ยากให้ง่ายขึ้น คำอธิบายแก้อรรถบาลี).วิ.อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ อฏฺกถา. อตฺถปุพฺโพ, กถ. กณน, อ, อิตฺถิยํ อา, ตฺถสฺส ฏฺโฐ
  33. อฏฺฐกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อ ความ, วาจาเป็นเครื่องอัน....กล่าวซึ่งเนื้อ ความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ, อรรถกถา (คำอธิบายบาลีพุทธพจน์ที่ยาก ให้ง่ายขึ้น คำอธิบายแก้อรรถบาลี). วิ. อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ อฏฺฐกถา. อตฺถปุพฺ โพ, กถ. กณน, อ, อิตฺถิยํ อา, ตฺถสฺส ฏฺโฐ
  34. อฏฺฐงฺคม : (ปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  35. อฏฺฐงฺคม : (ปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  36. อฏฺฐงฺคมน : (นปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  37. อฏฺฐงฺคมน : (นปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  38. อฏฺฐิกลฺยาณ : นป. ความงามของฟัน
  39. อฏฺฐิสญฺญา : อิต. ความสำคัญในกระดูก
  40. อฏวีสงฺโกป : ป. ความไม่สงบในระหว่างกลุ่มชนชาวป่า
  41. อณฺหตฺต : นป. ความร้อน
  42. อณีกทสฺสน : (นปุ.) ความเห็นของกองทัพ.
  43. อตจฺฉ : ๑. นป. ความไม่จริง ; ๒. ค. ไม่จริง, ไม่แท้
  44. อตฺตกาม : ป. ความรักตน
  45. อตฺตกิลมถานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบาก, การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตน, การทรมาณตนให้ลำบากเปล่า, การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบากเปล่า, อัตกิลมถานุโยคชื่อทางสายหนึ่งในสามสายเป็นสายซ้าย.
  46. อตฺตทตฺถ : ป. ประโยชน์ตน, ความสุขของตน
  47. อตฺตทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าเป็นตนวิ. อตฺตาอิติทิฏฺฐิอตฺตทิฏฺฐิ.
  48. อตฺตทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าเป็นตน วิ. อตฺตาอิติ ทิฏฺฐิ อตฺตทิฏฺฐิ
  49. อตฺตโนมติ : (อิต.) ความคิดของตน, ความเห็นของตน, อัตโนมัติ อัตโนมัติ (ความเห็นส่วนตัว ความเห็นโดยลำพังตน คือ เป็นไปในตัวของมันเอง).
  50. อตฺตภาว : (ปุ.) ขันธปัญจกเป็นแดนเกิดแห่งอัสมิมานะว่าอันว่าตน, กายอันเป็นแดนเกิดแห่งนนามว่าอันว่าตน, ความเป็นแห่งตน, กาย, ร่างกาย, รูป, อัตภาพ (ลักษณะความเป็นตัวตน), อาตมภาพ (อาดตะมะภาพ)เป็นคำพูดแทนตัวพระสงฆ์ซึ่งใช้พูดกับผู้มีศักดิ์, อาตมา (อาดตะมา)เป็นคำแทนตัวพระสงฆ์ตรงกับคำว่าฉันข้าพเจ้าใช้พูดกับคนทั่วไปทั้งชายและหญิง. ส. อาตฺมภาว.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | [2651-2700] | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3721

(0.1118 sec)