Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเกี่ยวข้อง, เกี่ยวข้อง, ความ , then กยวของ, เกี่ยวข้อง, ความ, ความกยวของ, ความเกี่ยวข้อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเกี่ยวข้อง, 3721 found, display 2751-2800
  1. อธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติมิใช่ธรรม, ความประพฤติไม่เป็นธรรม, ความไม่ประพฤติธรรม, ความประพฤติผิด.
  2. อธวาสน : นป. การยอมรับ, ความอดกลั้น, ความอดทน
  3. อธิการิก : ค. ผู้บำเพ็ญความดี, อันอ้างอิงถึง
  4. อธิเชคุจฺฉ : นป. ความน่าเกลียด, ความสะอิดสะเอียน
  5. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตนปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่นหมาย, ความจงใจ)คำพิษฐานนี้เลือนมาจากอธิษฐาน.ส.อธิษฺฐาน.
  6. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณ ชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตน ปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่น หมาย, ความจงใจ) คำพิษฐาน นี้เลือนมา จาก อธิษฐาน. ส. อธิษฺฐาน.
  7. อธิฏฺฐาน : นป. ความตั้งใจแน่วแน่, การอธิษฐาน, การติดแน่น, ที่อยู่อาศัย
  8. อธิปฺปเตยฺยอธิปฺปเตยฺย : (ปุ.) ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่ยิ่ง, อธิปไตย (อำนาจสูงสุด).วิ.อธิป-ติโนภาโวอธิปเตยฺโยอธิปฺปเตยฺโย วา. ณฺยปัจ.ภาวตัท.วิการ อิ ที่ ติ เป็น เอ ลบณฺซ้อนยฺศัพท์หลังลงปฺสังโยค.
  9. อธิปฺปเตยฺย อธิปฺปเตยฺย : (ปุ.) ความเป็นแห่ง ความเป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่ยิ่ง, อธิปไตย (อำนาจสูงสุด). วิ. อธิป- ติโน ภาโว อธิปเตยฺโย อธิปฺปเตยฺโย วา. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ ที่ ติ เป็น เอ ลบ ณฺ ซ้อน ยฺ ศัพท์หลังลง ปฺสังโยค.
  10. อธิปฺปาย : ป. ความตั้งใจ, ความปรารถนา, ความประสงค์
  11. อธิปฺปาโยส : ป. ความแตกต่าง, ลักษณะพิเศษ, ความหมายพิเศษ
  12. อธิปฺเปตตฺต : นป. ความเป็นของอัน.....ประสงค์แล้ว, ความเป็นของต้องประสงค์
  13. อธิปายอธิปฺปาย : (ปุ.) สภาพเป็นที่อาศัยแห่งจิต, สภาพผู้อาศัยซึ่งจิตนอนอยู่, ความประสงค์, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความเป็นใหญ่, การออกความเห็นการอธิบาย (ขยายความชี้แจง), วิ.อธิปยติจินฺเตตีติอธิปฺปาโย.อธิปียเตติวาอธิปฺปาโย.อธิปุพฺโพ, ปยฺคมเน, โณ.อิวาคมเน, โณ, ปฺอาคโม.อถวา, โยอตฺโถปณฺฑิเตนอธิปียเตโสอตฺโถอธิปฺปาโย.ส. อภิปฺราย
  14. อธิปาย อธิปฺปาย : (ปุ.) สภาพเป็นที่อาศัยแห่ง จิต, สภาพผู้อาศัยซึ่งจิตนอนอยู่, ความประ สงค์, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความเป็นใหญ่, การออกความเห็น การอธิบาย (ขยายความชี้แจง), วิ. อธิปยติ จินฺเตตีติ อธิปฺปาโย. อธิปียเตติ วา อธิปฺปา โย. อธิปุพฺโพ, ปยฺคมเน, โณ. อิ วา คมเน, โณ, ปฺอาคโม. อถวา, โย อตฺโถ ปณฺฑิเตน อธิปียเต โส อตฺโถ อธิปฺปาโย. ส. อภิปฺราย
  15. อธิมตฺตตา : อิต. ความเป็นของมีค่ายิ่ง
  16. อธิมน : นป. ความตั้งใจ, ความจดจ่อ
  17. อธิมาน : ป. ความทะนงตัว, ความเย่อหยิ่ง
  18. อธิมานิก : ค. มีความเย่อหยิ่ง, ผู้อวดดี
  19. อธิมุจฺจน : (นปุ.) ความน้อมใจเชื่อ, ความแน่ใจอธิ+มุจฺ+ย ปัจ.ประจำธาตุ ยุ ปัจ.
  20. อธิมุตฺต : (นปุ.?)ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความน้อมใจเชื่อ, ความพอใจ, จิตนอนอยู่, อัชฌาสัย, อัธยาศัย.อธิปุพฺโพ, มุจฺ โมจเนนิจฺฉเย วา, โต, จสฺสโต.
  21. อธิมุตฺติ : (อิต.) ความมุ่งหมาย, ฯลฯ.ติปัจ.ส.อธิมุกฺติ.
  22. อธิโมกฺข : (ปุ.) ความรู้สึกหนักแน่น, ความรู้สึกตระหนักแน่น, ความหนักแน่น, ความแน่ใจ, ความน้อมลง, ความน้อมใจเชื่อ, ศรัทธา.วิ.อธิมุจฺจนํอธิโมกฺโขอถ วา, อธิมุจฺจนํ อารมฺมณนิจฺฉนํ อธิโมกโข.อธิ-ปุพฺโพ, มุจฺ โมจนนิจฺฉเยสุ, โข, จสฺสโก, อุสฺโส (แปลง จ เป็น ก แปลง อุ เป็น โอ)ส.อธิโมกฺษ.
  23. อธิวาสน : (นปุ.) การอยู่ทับ, การอดทน, การรับพร้อม, การรับนิมนต์, การยับยั้ง, ความยับยั้ง, ความอดทน, ความอดกลั้น.ยุปัจ.
  24. อธิวาสนขนฺติ : (อิต.) ความอดทนด้วยอันรับ, ความอดทนด้วยความอดกลั้น, ความอดทนอย่างยิ่งยวด, อธิวาสนขันติชื่อความอดทนอย่างสูงคือความอดทนต่อความกระทบกระทั่งของคนที่ด้อยกว่าจะเป็นทางใดก็ตามด้วยการลดทิฐิมานะของตนลงเสีย.
  25. อธิวาสนา : (อิต.) การรับรอง, ความรับรอง.
  26. อธิวุตฺติ : อิต. การพูด, การแสดง, ความเห็น
  27. อโธคติ : (อิต.) ความไปต่ำ, ความต่ำต้อย, ความต่ำทราม.
  28. อนคฺฆ : (วิ.) มีค่าหามิได้วิ.นตฺถิอคฺโฆเอตสฺสาติอนคฺโฆความหมายแท้จริงหมายความว่า มีค่ามากจนกำหนดค่าไม่ได้ฏีกาเวสฯท่านจึงแก้ว่าโสหิอคฺฆสฺสมหนฺตตฺตาอนคฺโฆติวุตฺโต.ส.อนรฺฆ.
  29. อนฆ : (วิ.) ไม่มีความชั่ว, ไม่มีความทุกข์, ไม่มีความวิบัติ, ไม่มีความฉิบหาย.น+อฆ.
  30. อนฺตกาล : (ปุ.) กาลแห่งความตาย, เวลาตาย.ส.อนฺตกาล.
  31. อนฺตคู : (วิ.) ผู้ถึงซึ่งที่สุด, ผู้ชนะความทุกข์.
  32. อนตฺตตา : (อิต.) ความที่แห่งภาวะเป็นภาวะมีตนหามิได้, ฯลฯ, ความที่แห่งของเป็นของมีตนหามิได้, ความเป็นของมีตนหามิได้, ฯลฯ.
  33. อนตฺถ : (วิ.) อันตั้งอยู่ไม่ได้, เสื่อม.น. อาบทหน้าถาธาตุในความตั้งอยู่อปัจ.รัสสะอาเป็นอ.แปลงนเป็นอนซ้อนต.
  34. อนตฺถตา : (อิต.) ความที่แห่งกรรมเป็นกรรมมิใช่ประโยชน์, ความเป็นแห่งกรรมมิใช่ประโยชน์.
  35. อนฺตรธาน : (นปุ.) การปิด, การกำบัง, การตั้ง-อยู่ในที่อื่น, การหายไป, การสูญ, การสูญหายไป (หายลับไ), ความสูญ, ความสูญหายไป, อนฺตรหรืออนฺตรํบทหน้าธาธาตุ ยุปัจ.ถ้าใช้อนฺตรํเป็นบทหน้าลบนิคคหิต.
  36. อนฺตรามรณ : นป. ความตายในระหว่าง คือ ตายก่อนเวลาที่สมควร
  37. อนฺตราย : (ปุ.) ธรรมอันมาในระหว่าง, สภาพเป็นเครื่องเป็นไปในระหว่าง, ความฉิบหายอันมาในระหว่าง, การอุบาทว์, ความขัดข้อง, อันตราย (เหตุที่ทำให้ถึงความแตกดับ)วิ.จตุปฏิสนฺธีนมนฺตเรอายตีติอนฺตราโย.อนฺตรํวฺยวธานํอายติคจฺฉตีติวาอนฺตรา-โย.อนฺตราเวมชฺเฌอายนฺตีติวาอนฺตรา-โย.สมฺปตฺติยาวิพนฺธนวเสนสตฺตสนฺตา-นสฺสอนฺตเรเวมชฺเฌเอติอาคจฺฉตีติวาอนฺตราโย.อนฺตราบทหน้าอิ ธาตุ อ ปัจ.ส. อนฺตราย.
  38. อนฺตรายิกธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นอันตราย, ธรรมอันทำซึ่งอันตราย, เหตุเครื่องขัดข้องต่าง, เหตุขัดข้องต่าง ๆ, ความขัดข้องต่าง ๆอันตรายิกธรรม
  39. อนฺติมวตฺถุ : (นปุ.) วัตถุอันมีในที่สุด, อันติมวัตถุชื่อของการต้องอาบัติมีโทษถึงที่สุดคือการต้องอาบัติปาราชิกซึ่งขาดจากความเป็นภิกษุ.
  40. อนฺเตวาสิก : (ปุ.) ชนผู้มีความอยู่ในภายในเป็นปกติ, ศิษย์, อันเตวาสิกคือผู้ที่ตนสวดให้ในคราวอุปสมบทหรือผู้ที่ตนสอนวิชาให้.วิ.อนฺเตวาสิโก.อนฺเตวาสิโกส. อนฺตวา-สินอนฺเตวาสิน.
  41. อนฺธการ : (ปุ.) กาลผู้กระทำซึ่งมืด, สภาพผู้กระทำซึ่งมืด, ความมืดทำซึ่งความเป็นผู้บอด, ความมืด, ความมืดมัว, ความเขลา, วิ.อนฺธํหตทิฎฺฐิสตฺติกํโลกํกโรตีติอนฺธกาโร.ส. อนฺธการ.
  42. อนฺธกิย : (วิ.) ประกอบในความมืด, เกิดในความมืด.
  43. อนฺธตมอนฺธนฺตม : (ปุ. นปุ.) ความมืดคือบอด, ความมืดบอด, ความมืดทึบ, ความมืดตื้อ, ความมืดมน (มืดแปดด้าน) มืดมิด.วิ. อนฺธญฺจตํตมญฺจาติอนฺธตมํอนฺธนฺตมํ วา
  44. อนฺธตม อนฺธนฺตม : (ปุ. นปุ.) ความมืดคือบอด, ความมืดบอด, ความมืดทึบ, ความมืดตื้อ, ความมืดมน (มืดแปดด้าน) มืดมิด. วิ. อนฺธญฺจ ตํ ตมญฺจาติ อนฺธตมํ อนฺธนฺตมํ วา
  45. อนฺธตม, อนฺธนฺตม : ป., นป. ความมืดตื้อ
  46. อนนุตาปิย : (นปุ.) กรรมมิใช่กรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อนในภายหลัง.
  47. อนพฺภุณฺณตตา : อิต. ความเป็นของไม่ตั้งขึ้น
  48. อนภาว : ป. ความไม่มีต่อไป, ความสุดลงเด็ดขาด
  49. อนภิชฺฌา : อิต. ความไม่เพ่งเล็ง, ความไม่ปรารถนา
  50. อนภิชฺฌาลุ : ค. ไม่มีความโลภ, ไม่เพ่งเล็ง
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | [2751-2800] | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3721

(0.1209 sec)