Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเกี่ยวข้อง, เกี่ยวข้อง, ความ , then กยวของ, เกี่ยวข้อง, ความ, ความกยวของ, ความเกี่ยวข้อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเกี่ยวข้อง, 3721 found, display 3101-3150
  1. อยส : ป., นป. ความเสื่อมยศ, ความไม่มีเกียรติ
  2. อยุตฺต : ๑. นป. ความไม่ยุติธรรม, ความไม่สมควร, ความไม่ประกอบ ๒. ค. ไม่ยุติธรรม, ไม่สมควร, ไม่ประกอบ
  3. อโยค : ค. ไม่ประกอบความเพียร, ไม่มีความพยายาม, ไม่ตามประกอบ
  4. อโยนิโสมนสิการ : (ปุ.) การทำไว้ในใจโดยไม่แยบคาย, ความทำไว้ในใจโดยไม่แยบคาย, ฯลฯ.
  5. อรญฺญกตฺต : นป. ความเป็นผู้อยู่ในป่า, การถืออยู่ในป่าเป็นวัตร
  6. อรณ : (วิ.) ไม่มีข้าศึก, ไม่มีข้าศึกคือกิเลส.ไม่มีกิเลส, ไม่มีความชั่ว, ไม่มีความเสีย-หาย, ไม่มีบาป, ไม่มีการรบ, ไม่มีเสียง.ส. อรณ.
  7. อรตฺต : ค. ไม่ถูกความกำหนัดย้อมใจ
  8. อรติ : (อิต.) ความไม่ยินดี, ความไม่พอใจ, ความเบื่อ, ความริษยา, อรดี, อราดี.ส. อรติ.
  9. อรหตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งพระอรหันต์, คุณเครื่องเป็นพระอรหันต์, ความเป็นพระอร-หันต์, อรหัตผล.อรหนฺต+ตฺตปัจ.ภาวตัทลบนฺต.วิ.อรหโตภาโวอรหตฺตํ.
  10. อรหตฺตคหณ : นป. การถือเอาความเป็นพระอรหันต์, การบรรลุความเป็นอรหันต์
  11. อรหตฺตมคฺค : ป. อรหัตมรรค, ทางดำเนินไปสู่ความเป็นพระอรหันต์
  12. อรหนฺต : (ปุ.) พระอรหันต์.วิ.สํสารจกฺกสฺสอเรหตวาติอรหาอรหํวา(ผู้ขจัดเสียซึ่งซี่แห่งสังสารจักร).อคฺคทกฺขิเณยฺยภาเวณปูชนํอรหตีติอรหา(ผู้ควรซึ่งการบูชาเพราะความเป็นพระทักขิเณยยบุคคลผู้เลิศ).กิเลสารโยมคฺเคนหนีติ อรหา (ผู้กำจัดข้าศึกคือกิเลสท.ด้วยมรรค).นสนฺติเอตสฺสรหาติอรหา (ผู้ไม่มีปาบธรรม).นตฺถิ เอตสฺสรโหคมนํคตีสุปจฺจาชาตีติอรหํ.
  13. อริยกนฺต : ค. ยินดี, พอใจ, ซึ่งพอใจในความเป็นอริยะ, อันพระอริยะใคร่แล้ว
  14. อริยชน : (ปุ.) ชนผู้เจริญ, อารยชน (ชนผู้เจริญด้วยความรู้ความสามารถและขนบธรรม-เนียมอันดีงาม).
  15. อริยชาติ : (อิต.) ชาติผู้เจริญ, อารยชาติคือชาติที่พ้นจากความป่าเถื่อน.
  16. อริยทส : ค. ผู้มีความเห็นอันประเสริฐ
  17. อริยสจฺจ : (นปุ.) ความจริงอันประเสริฐ, ความจริงอย่างประเสริฐ, ความจริงอันยังปุถุชนให้เป็นพระอริยะ, ความจริงอันยังปุถุชนผู้ปฏิบัติตามมรรค ๘ ให้เป็นอริยะ, ความจริงของพระอริยะ, อริยสัจชื่อของหมวดธรรมหมวดหนึ่งซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสรู้ มี ๔ข้อคือ ๑.ทุกข์๒. ทุกขสมุทัย๓. ทุกขนิโรธและ ๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา.ไตร.๓๕/๑๔๔.
  18. อรูปตณฺหา : อิต. ความอยากเป็นผู้ไม่มีตัวตน, ความอยากเกิดในชั้นอรูปพรหม
  19. อรูปโลก : ป. อรูปโลก, โลกแห่งความไม่มีรูป, โลกแห่งความไม่มีตัวตน
  20. อรูปาวจร : ค. อรูปาวจร, อันเที่ยวไปในอรูป, อันนับเนื่องด้วยโลกแห่งความไม่มีรูป
  21. อโรคภาว : ป. ความไม่มีโรค, ความไม่เจ็บป่วย
  22. อโรคฺย : (นปุ.) ความไม่มีแห่งโรค, ฯลฯ. โรคสฺสอภาโวอโรคฺยํ.ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่มีโรค, ฯลฯ.วิ.อโรคสฺส ภาโวอโรคฺยํ.ณฺยปัจ.ภาวตัท.ดูอาโรคฺยด้วย.
  23. อล : (นปุ.) การประดับ, การตกแต่ง, ความประดับ, ความตกแต่ง, อลฺภูสเน, อ.
  24. อลกฺขี : (วิ.) หาความสวัสดีมิได้, มิใช่ความสวัสดี, ไม่มีสิริ, ไม่มีบุญ.
  25. อลกมฺม : (ปุ.) ความควรแก่การงาน, ความสามารถเพื่ออันทำ, ความสามารถเพื่อจะทำวิ.กมฺมสฺสอลํสมตฺโถติอลํกมฺโมเป็นอมาทิปรตัป.รูปฯ ๓๓๖.
  26. อลคฺคน : นป. ความไม่ติดข้อง
  27. อลชฺชี : (วิ.) ผู้ไม่มียางอาย, ผู้ไม่มีความอาย, ผู้ไม่มีความกระดาก, ผู้หน้าด้าน.
  28. อลปเตยฺยา : อิต. ผู้มีอายุพอจะแต่งงานได้, หญิงที่ถูกกล่าวว่า “พอละ” เป็นการแสดงความไม่พอใจของสามีไล่ให้เธอกลับไปหามารดาบิดา
  29. อลฺล : (นปุ.?)ความพัวพัน.อลฺพนฺธเน, โล.
  30. อลฺลิก : (วิ.) ประกอบด้วยความพัวพัน.อิกปัจ.
  31. อลฺลียน : นป. ความติด, ความยึด, ความอยาก
  32. อลวจน : (ปุ.) ความสามารถเพื่ออันกล่าววิ.วจนายอลํสมตฺโถติอลํวจโน.
  33. อลสตา : อิต. ความง่วงเหงาหาวนอน, ความขี้เกียจ
  34. อลสน : (นปุ.) ความเกียจคร้าน.วิ.นลสนํอลสนํ.
  35. อลสฺส, อาลสฺส : นป. ความขี้เกียจ
  36. อลาภ : ป. ความไม่มีลาภ, ความเสื่อมลาภ
  37. อลีนตา : อิต. ความไม่หดหู่, ความไม่เฉื่อยชา, ความมีใจเปิดเผย, ความซื่อสัตย์สุจริต
  38. อโลภ : (วิ.) มีความโลภหามิได้, ไม่มีความโลภ, ไม่โลภ.
  39. อวกฺกนฺติ : อิต. การก้าวลง, การหยั่งลง, ความปรากฏ
  40. อวกมฺปน : (นปุ.) การอนุเคราะห์, การเอ็นดู, การช่วยเหลือ, ความอนุเคราะห์, ฯลฯ, ความกรุณา.อวปุพฺโพ, กมฺปฺจลเน, ยุ.
  41. อวขณฺฑน : (นปุ.) การขาด, ความเป็นท่อน.อวปุพฺโพ, ขฑิเฉทเน, ยุ.
  42. อวคมน : (นปุ.) ความรู้, ฯลฯ, ยุปัจ.
  43. อวชฺชตา : อิต. ใช้ในคำว่า อนวชฺชตา = ความไม่น่าติเตียน, ความไม่มีโทษ
  44. อวชาตอวชาตปุตฺต : (ปุ.) บุตรผู้เกิดต่ำแล้ว, ลูกชั้นต่ำ, อวชาตบุตร (ลูกที่เกิดมามีความรู้ความสามารถและความประพฤติต่ำกว่าตระกูล).
  45. อวชานน : (นปุ.) ความดูหมิ่น, ความดูถูก, ความดูแคลน.อวปุพฺโพ, ญาญาเณ, ยุ.
  46. อวญฺญตฺติ : อิต. (ใช้ในคำว่า อนวญฺญตฺติ ) ความไม่ถูกดูถูก
  47. อวญฺญา : (อิต.) ความดูหมิ่น, ฯลฯ, ความไม่เห็นแก่กัน. วิ. อวชานนํ อวญฺญา.อวปุพฺโพ, ญา ญาเณ, อ. อภิฯลงกฺวิปัจ.
  48. อวฏฺฐิตตา : อิต. ความมั่นคง, ความยั่งยืน, ความถาวร
  49. อวฏฺฐิติ : (อิต.) ความหยุดอยู่, ความตั้งอยู่, ความดำรงอยู่.อวปุพฺโพ, ฐาตคินิวตฺติยํ, ติ, อาสฺสิ (แปลงอาเป็นอิ), ฏฺสํโยโค.
  50. อวฑฺฒิ : อิต. ความไม่เจริญ, ความเสื่อม
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | [3101-3150] | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3721

(0.1411 sec)