Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเกี่ยวข้อง, เกี่ยวข้อง, ความ , then กยวของ, เกี่ยวข้อง, ความ, ความกยวของ, ความเกี่ยวข้อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเกี่ยวข้อง, 3721 found, display 3251-3300
  1. อสุทฺธิ : (อิต.) ความไม่สะอาด, ความไม่หมดจดความไม่ผ่องแพ้ว, ความไม่ผุดผ่อง, ความสกปรก.
  2. อสุภกถา : อิต. กถาอันว่าด้วยความไม่สะอาด, ถ้อยคำพรรณนาถึงสิ่งที่น่าเกลียด
  3. อสุภสญฺญา : (อิต.) ความสำคัญว่าไม่งาม, ฯลฯ.วิ. อสุภาอิติสญฺญาอสุภญฺญา.
  4. อสุร : (ปุ.) สัตว์ผู้ไม่รุ่งโรจน์ในความเป็นอยู่, อมนุษย์, มาร, ปีศาจ, อสูร (อมนุษย์พวกหนึ่งซึ่งเป็นข้าศึกแก่เทวดา).
  5. อสุโรป : ป. ความไม่สุภาพ, ความกระด้าง, ความโกรธเคือง
  6. อโสก : (วิ.) ผู้ไม่มีความโศก, ผู้ไม่โศก.ส.อโศก
  7. อโสตต : นป. ความเป็นผู้ไม่มีหู
  8. อหการอหงฺการ : (ปุ.) ความถือตัว, ความทะนงตัว, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, ความถือเรา, อติมานะ, อภิมานะ. วิ. อหมิติอตฺตานํกโรติ เยน โสอหํกาโรอหงฺกาโรวา.อหํปุพฺโพ, กรฺกรเณ, โณ.อภิฯลงอปัจส.อหงฺการ.
  9. อหมหมิกา : (อิต.) ความหยิ่ง, ความจองหอง, ความอหังการ.โบราณแปลว่าอภิมานะเป็นที่กระทำว่าเราว่าเรา.อหํอหํศัพท์อิกปัจ.วิ. อหํอคฺโคภวามิอหํอคฺโคภวามี-ติอหมหมิกา.
  10. อหาส : ป. ความไม่ร่าเริง, ความไม่ยินดี
  11. อหิริก : (ปุ.) คนหมดความละอาย, คนหมดความละออายใจ, คนหมดความขยะแขยงในการทำทุจริตต่าง ๆ, สภาพที่ไม่ละอายแก่อกุศลทุจริต.
  12. อหึสา : (อิต.) ความไม่เบียดเบียน, อหิสา.ส. อหึสาอหิงฺสา.
  13. อเหตุกทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าไม่มีเหตุ, ความเห็นว่าหาเหตุมิได้.ความเห็นว่าหาเหตุมิได้.ความเห็นว่าคนเราจะได้ดีหรือว่าได้ร้าย เป็นไปตามเคราะห์ดีหรือเคราะห์ร้ายถึงคราวเคาะห์ดีก็ดีได้เองถึงคราวเคราะห์ร้ายก็ร้ายได้เองจัดเป็นอเหตตุกทิฏฐิ.
  14. อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
  15. อากขาอากงฺขา : (อิต.) ความจำนง, ความปรารถนา, ความหวัง, อากังขาชื่อของตัณหา, ตัณหา. อาปุพฺโพ, กํขฺอิจฺฉายํ, อ.ส.อากางฺกฺษา.
  16. อากงฺขน : นป. ความหวัง, ความจำนง, ความปรารถนา
  17. อากปฺป : (ปุ.) มรรยาทอัน...กำหนดยิ่ง, มรรยาทเครื่องกำหนดยิ่ง, มรรยาทเครื่องสำเร็จ, ความกำหนด, ความสำเร็จ.อาบทหน้ากปฺปฺธาตุในความกำหนดสำเร็จอ.ปัจ. การตกแต่งให้งาม, การตกแต่งให้สวยงาม, การแต่งตัวดี, อาการ, ท่าทาง. กปุธาตุในความอาจสามารถควรสมควรอหรือณปัจซ้อนปฺ.ส.อากลฺป.
  18. อากลฺย, อากสฺส : นป. ความไข้, ความเจ็บป่วย, อาพาธ
  19. อาการ : (ปุ.) การทำยิ่ง, ความทำโดยยิ่ง, มรรยาทเครื่องทำโดยยิ่ง, ความเป็นอยู่, การณะ, สัณฐาน, ส่วน, ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย, วิธี, ทำนอง, ท่าทาง.วิ.อากรณํอากาโร.ส.อาการ.
  20. อากิญฺจญฺญ : นป. ความไม่มี, ความว่างเปล่า
  21. อากิญฺจญฺญายตน : นป. อากิญจัญญายตนะ, ฌานที่มีการคำนึงว่าไม่มีอะไรเป็นอารมณ์, สภาวะแห่งความไม่มีอะไร
  22. อากิรณ : นป. ความอาเกียรณ์, ความเรี่ยราด, ความกระจัดกระจาย
  23. อากิริตตฺต : นป. ความเต็ม, ความบริบูรณ์
  24. อากีรณ : (นปุ.) ความเกลื่อนกล่น, ความดาษดาความคลุกคลี, ความระคน, ความเรี่ยราย, อาเกียรณ์.อาปุพฺโพ, กิรฺวิกิรเณ, ยุ.ส. อากีรฺณ.
  25. อากูต : นป. ความปรารถนา
  26. อาขฺยาต : (นปุ.) อาขยาดชื่อปกรณ์ของบาลีไวยากรณ์ปกรณ์หนึ่งวิ. กิริยํอาขฺยาตีติอาขฺยาตํ (ปทํ สทฺทชาตํ).กิริยํอาจิกฺขตีติอาขฺยาตํ.รูปฯ ๒๔๐.อาขฺยาตีติอาขฺยาตํ.อภิฯ.อาบทหน้า ขฺยาธาตุในความกล่าวตปัจ.ซ้อนกฺ เป็น อากฺขฺยาตบ้าง.
  27. อาเขฏก : ป. ความสะดุ้ง, ความหวาดเสียว
  28. อาคท : (ปุ.) ถ้อยคำ (กล่าวชัด)อาบทหน้าคทฺธาตุในความกล่าวชัดเจนอ.ยุปัจ.
  29. อาคทน : (นปุ.) ถ้อยคำ (กล่าวชัด)อาบทหน้าคทฺธาตุในความกล่าวชัดเจนอ.ยุปัจ.
  30. อาคนฺตุกภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง...เป็นผู้จรมา
  31. อาคมน : (นปุ.) การมา, การมาถึง, ความมา.ส.อาคมน.
  32. อาคมนการณ : (นปุ.) เหตุคือความมา, เหตุแห่งการมา.
  33. อาคุ : (นปุ.) ความชั่ว, บาป, วิ. อาคนฺตพฺพํคจฺฉติเอเตนาติอาคุ. อา ปีฬนํคจฉตีติ วาอาคุ. อาปุพฺโพคมฺคติยํ, ณุ, มฺโลโป. ความผิด, โทษ. วิ. อปคจฺฉติอเนนาติอาคุ.อปบทหน้าลบปทีฆะอเป็นอา.
  34. อาคู : ป. ความหยาบช้า, บาป
  35. อาฆาตน : (นปุ.) ที่เป็นที่นำมาฆ่า, สถานที่ฆ่า, สถานที่สำหรับฆ่า, ตะและแกง (ที่เป็นที่นำมาฆ่าที่สำหรับฆ่านักโทษ)วิ.อาคนฺตวาฆาเตนฺติยสฺมึตํอาฆาตนํ.อาโกธวเสนสตฺเตฆาเตติเอตฺถาติอาฆาตนํ.อาอักษรเป็นไปในความโกรธ.ส.อาฆาตน.
  36. อาจมา : (อิต.) ความว่องไว, ความปรารถนา.?
  37. อาจริยมุฏฺฐิ : อิต. ความรู้พิเศษของอาจารย์, อาจารย์ที่ปิดบังความรู้
  38. อาจาร : (ปุ.) มรรยาทอันบุคคลพึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อ, ความประพฤติ, ความประพฤติที่ดี, ความประพฤติไม่ล่วงละเมิดทางกายและทางวาจา, สีลสังวร, มารยาท, มรรยาท, มรรยาทอันดี, จรรยา, ขนบ, ธรรมเนียม, ระเบียบ, แบบแผน.ไตร.๓๕/๖๐๔.ส. อาจาร.
  39. อาจารกุสล : ค. ผู้ฉลาดในความประพฤติที่ดี
  40. อาจารวิปตฺติ : (อิต.) อันเคลื่อนคลาดโดยความประพฤติ, อาจารวิบัติ, (เสียมารยาททางความประพฤติ, ความประพฤติเสีย).
  41. อาจารี : ค. ผู้มีมรรยาทดี, มีความประพฤติดี
  42. อาจิณฺณกปฺป : ป. ความประพฤติที่ทำต่อๆ กันมา, การประพฤติเนืองๆ
  43. อาจิณฺณอาจิณฺณกมฺม : (นปุ.) อาจิณณกรรมคือกรรมที่ทำเสมอ ๆ เนือง ๆ บ่อย ๆ. วิ.อาจียติ ปุนปฺปุนํกรียตีติอาจิณฺณํ. อาปุพฺโพจิจเย, โต.แปลงตเป็น อิณฺณไทยใช้อาจิณเป็นวิเศษในความว่าเป็นปกติเนือง ๆบ่อย ๆ เสมอ.
  44. อาชฺชว : นป. ความซื่อตรง, ความเป็นคนตรง
  45. อาชานน : นป. ความรู้, ความเข้าใจชัด
  46. อาชานียตา : อิต. ความเป็นผู้เกิดมาจากตระกูลที่ดี, ความเป็นผู้ประเสริฐ
  47. อาชีว : (ปุ.) ความเป็นอยู่, การเลี้ยงชีพ, การเลี้ยงชีวิต, อาชีพ(การทำมาหากิน), ธรรมเป็นที่มาเป็นอยู่. วิ.อาชีวนํอาชีโว.อาชีวติเอเตนาติอาชีโว.อาปุพฺโพ, ชีวฺปาณธาร-เณ, อ.ส.อาชีว.
  48. อาชีวน : (นปุ.) ความเป็นอยู่, ฯลฯ. ส.อาชีวน.
  49. อาชีวปริสุทฺธิ : อิต. ความบริสุทธิ์แห่งการเลี้ยงชีพ
  50. อาชีววิปตฺติ : อิต. ความวิบัติแห่งการเลี้ยงชีพ, ความเป็นผู้เลี้ยงชีพผิด
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | [3251-3300] | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3721

(0.1309 sec)