Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความดูแล, ดูแล, ความ , then ความ, ความดูแล, ดล, ดูแล .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความดูแล, 3726 found, display 1501-1550
  1. ปโมห : ป. ความลุ่มหลง, ความมัวเมา
  2. ปโมหน : นป. การหลอกลวง, ความหลงผิด
  3. ปยตน : (นปุ.) ความพยายาม, ความหมั่น, ความขยัน, ปปุพฺโพ, ยตฺ ปฏิยตเน, ยุ.
  4. ปยน : (นปุ.) ความเจริญ, ความรุ่งเรือง. ปปุพฺโพ, อิ คติยํ, ยุ.
  5. ปยุชฺชน ปยุญฺชน : (นปุ.) การประกอบ, ความประกอบ, ความประกอบยิ่ง. ปปุพฺโพ, ยุชฺ โยเค, ยุ. แปลง ช เป็น ชฺช ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม.
  6. ปโยค : (ปุ.) การประกอบ, ฯลฯ, การประกอบเข้า, ความพยายามเป็นเครื่องประกอบ, ความพยายาม, ฯลฯ, ประโยคเป็นชื่อของคำพูดที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่งๆ อย่าง ๑ เป็นชื่อของความรู้เช่นเปรียญธรรม ๓ ประโยค อย่าง ๑ เป็นชื่อของการทำทางกายทางวาจา เรียกว่า กายประโยค วจีประโยค อย่าง ๑ วิ. ปยุชฺชนํ ปโยโค. ป+ยุชฺ+ณ ปัจ. แปลง ช เป็น ค. ส. ปฺรโยค.
  7. ปโยคตา : อิต. ความประกอบ, ความนำไปใช้
  8. ปโยควิปตฺติ : อิต. ความวิบัติแห่งความพยายาม, ความไม่สำเร็จแห่งวิธีการ, การประกอบผิดทาง
  9. ปโยคสมฺปตฺติ : อิต. ความถึงพร้อมแห่งความพยายาม, ความสำเร็จแห่งการประกอบความพยายาม
  10. ปโยคสุทฺธิ : อิต. ความบริสุทธิ์แห่งความพยายาม, ความหมดจดแห่งการประกอบความพยายาม
  11. ปโยคหีน : ค. ซึ่งเสื่อมจากความพยายาม, ซึ่งบกพร่องในการประกอบความพยายาม
  12. ปโยชน : (นปุ.) การรับใช้, การส่งไป, สิ่งอันเหตุพึงทำให้สำเร็จ, ผลอันสำเร็จมาจาก เหตุ. วิ. ยํ ผลํ เหตุนา โยเชตพฺพํ ปวตฺตพฺพํ ตสฺมา ตํ ผลํ ปโยชนํ. ปปุพฺโพ, ยุชฺ ปวตฺติยํ, ยุ. สิ่งอันบุคคลพึงประกอบ ( เพราะเป็นสิ่งที่ให้คุณ ) , ความดี, วิ. ปโยเชตพฺพนฺติ ปโยชนํ. ยุชฺ โยเค. ไทย ประโยชน์ ใช้ในความหมายว่า สิ่งที่มีผลใช้ได้ดีสมกับที่คิดมุ่งหมายไว้ หรือผลที่ได้ตามต้องการสิ่งที่เป็นผลดี สิ่งที่เป็นคุณ. ส. ปฺรโยชน.
  13. ปโยเวค : (ปุ.) ความไหลไปแห่งน้ำ, กระแสน้ำ.
  14. ปรกฺกม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องก้าวไปยังคุณใน เบื้องหน้า, การก้าวไปสู่คุณในเบื้องหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, ความก้าวไปข้างหน้า, ความเป็นคนกล้า, ( ไม่กลัวหนาว ฯลฯ ) , ความเพียร, ความบากบั่น, ความตะเกียกตะกาย ( พยายามทุกทางเพื่อให้ ประสบความสำเร็จ ) . วิ. ปรํ ปรํ ฐนํ อกฺกมตีติ ปรฺกกโม. ปรํ ปจฺจนึกภูตํ โกสฺชฺชํ อกฺกมตีติ วา ปรฺกกโม. ปรปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ซ้อน กฺ.
  15. ปรกฺกม, - มน : ป., นป. ความบากบั่น, ความมุ่งมั่น, ความพากเพียร
  16. ปรกฺกมาธิคตสมฺปท : (วิ.) ผู้มีสมบัติอันได้แล้ว ด้วยความเพียร วิ. ปรฺกกเมน อธิคตาสมฺปทา เยหิ เต ภวนฺติ ปรฺกกมาธิคตสมฺปทา. รูปฯ ๓๔๑.
  17. ปรจิตฺตชานน : (นปุ.) ความรู้จิตของบุคคล อื่น, ฯลฯ.
  18. ปรจิตฺตวิชานน : นป. การรู้แจ้งจิตของผู้อื่น, การรู้ความคิดของผู้อื่น
  19. ปรตุกมฺยตา : (อิต.) ความที่แห่งคำพูดเป็น คำพูดเพื่อยังคนอื่นให้รัก (พูดสอพอเพื่อให้เขารัก ).
  20. ปรปริคฺคหิตสญฺตา : (อิต.) ความที่แห่งบุคคล มีความสำคัญว่าของอันบุคคลอื่นหวงแหน แล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความรู้ว่าของ อันคนอื่นหวงแหนแล้ว, ความเป็นผู้มี ความรู้ว่าของมีคนอื่นหวงแหน, ความรู้ว่า ของมีเจ้าของหวงแหน.
  21. ปรมตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์อย่างยิ่ง, เนื้อความอย่างยิ่ง, ความอย่างยิ่ง, ฯลฯ, อรรถอย่าง ยิ่ง, ปรมัตถ์ คือพระอภิธรรม.
  22. ปรมตฺถโต : อ. โดยปรมัตถ์, โดยความหมายอย่างสูงสุด, โดยความหมายที่จริงแท้
  23. ปรมตฺถธมฺม : (ปุ.) ธรรมมีเนื้อความอย่างยิ่ง, ธรรมมีเนื้อความอันประเสริฐ, ธรรมมี เนื้อความอันลึกซึ้ง, ธรรมมีอรรถอย่างยิ่ง, ฯลฯ, ปรมัตถธัม คือ จิต ๘๙ ดวง หรือ๑๒๑ ดวง เจตสิก ๕๒ ดวง รูป ๒๘ พระนิพพาน ๑. เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พระอภิธรรม ได้แก่ หระอภิธัมมปิฎก.
  24. ปรมตา : อิต. ความเป็นอย่างยิ่ง, ประมาณสูงสุด
  25. ปรมฺมรณ : (นปุ.) เบื้องหน้าแต่ความตาย, เบื้องหน้าแต่ตาย.
  26. ปรมวิสุทฺธสทฺธาพุทฺธิวิริยปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ผู้ประดับประดาแล้วด้วยศรัทธาและปัญญา เป็นเครื่องตรัสรู้และความเพียรอันหมดจด อย่างยิ่ง.
  27. ปรวมฺภิตา : อิต. ความเป็นผู้มักข่มเหงผู้อื่น, มีนิสัยชอบข่มเหงคนอื่น
  28. ปรวสตฺต : นป. ความมีอำนาจเหนือผู้อื่น
  29. ปรา : (อัพ. อุปสรรค) เสื่อม, ฉิบหาย, กลับความคือนำหน้าธาตุแล้ว ทำให้ธาตุนั้นมีความกลับกันจากเดิม อุ. ชิต ชนะแล้ว ลง ปรา เป็น ปราชิต แพ้แล้ว เป็นต้น.
  30. ปราชย : (ปุ.) ความไม่ชนะแก่ข้าศึก, ความแพ้แก่ข้าศึก. ปร+ อชย. ความแพ้, ความพ่ายแพ้. ปราปุพฺโพ, ชิ ชเย, โณ. รเณยุทฺเธ โย ภงฺโค โส ปราชโย นาม. อภิฯ และ ฎีกาอภิฯ
  31. ปราปรเจตนา : (อิต.) ความคิดอันเกิดสืบๆมา, ความคิดต่อๆ มา,
  32. ปราภว : (ปุ.) ความเป็นไปในเบื้องหน้า. ปร + อาภว.
  33. ปราภวน : (นปุ.) ความไม่เห็นแก่กัน, ความดูแคลน, ความดูถูก, ความดูหมิ่น, นินทา. ปราปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, โณ, ยุ.
  34. ปรามสน : (นปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
  35. ปรามาส : (ปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
  36. ปรามาสี : (วิ.) ผู้มีความยึดมั่น, ฯลฯ. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  37. ปรายน : (วิ.) ผู้มีสิ่งนั้น ๆเป็นใหญ่ (ตปฺปธาน), ผู้มีสิ่งนั้น ๆ เป็นเบื้องหน้า (ตปฺปร), ผู้ไป ในเบื้องหน้า, ผู้มีความเพียร ( ปร+อายน ).
  38. ปริกฺข : (นปุ.) การเห็นทั่ว, การเห็นรอบ, ความเห็นรอบ, การขอความเห็น, การหารือ, การพิจารณาหารือ, การปรึกษา. ปริพฺโพ, อิกฺขฺ ทสฺสนํเกสุ, อ. ส. ปรึกษา.
  39. ปริกฺขย : ป. ความเสื่อมสูญ, ความสิ้น
  40. ปริกตฺถน : (นปุ.) การสรรเสริญ, การเยินยอ, การยกย่อง, ความสรรเสริญ, ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, กตฺถฺ สิลาฆายํ, ยุ.
  41. ปริกตฺถนา : (อิต.) การสรรเสริญ, การเยินยอ, การยกย่อง, ความสรรเสริญ, ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, กตฺถฺ สิลาฆายํ, ยุ.
  42. ปริกปฺป : (ปุ.) ความคำนึง, ความดำริ, ความตรึก, ความกำหนด, ความเอนเอียง, คำ ปริกัป, บริกัลป์. ปริปุพฺโพ, กปฺปฺ วิตกฺก ปริจฺเฉเทสุ, อ. ส. ปริกลฺป.
  43. ปริกมฺม : (นปุ.) การทำบ่อยๆ, การทำซ้ำๆ, การขัดถู, การบริกรรม, ไทยใช้บริกรรม เป็นกิริยาในความว่า สำรวมใจสวดมนต์ สำรวมใจร่ายมนต์เสกคาถา เสกเป่า ตกแต่ง กำหนดใจ นวดฟั้น ฉาบทา.
  44. ปริกิลิสฺสน : นป. ความเศร้าหมอง
  45. ปริเกฺลส : ป. ความลำบาก, ความเศร้าหมอง
  46. ปริคฺคณฺห : (ปุ.) การกำหนดถือเอา วิ. ปริฉินฺทิตฺวา คหณํ ปริคฺคโณฺห. การถือเอาโดยรอบ, การรับเอา, การรวบรวม, การสะสม, การยึดถือ, การหวงแหน, ความถือ เอาโดยรอบ, ฯลฯ, คำที่แน่นอน, เรือน. ปริ+คหฺ+ณฺหา และ อ ปัจ. ลบ ที่สุดธาตุ ซ้อน คฺ.
  47. ปริคณฺหณ : นป. การยึดถือ, การสอบสวน, ความเข้าใจ, ความกำหนด
  48. ปริจย : (ปุ.) การอบรม, การท่อง, การท่อง บ่น, ความชม, ความรู้จักกัน, ความสั่งสม, ความชิน, ความเคยชิน, ความคุ้นเคย, ความอบรม. ปริปุพฺโพ, จิ จเย, อ.
  49. ปริจรณ : (นปุ.) การบำเรอ, ความบำเรอ. ปริปุพฺโพ, จรฺ คติยํ, ยุ.
  50. ปริจริยา : (อิต.) การบำเรอ, ฯลฯ. อิย ปัจ. ความประพฤติ. จรฺ จรเณ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | [1501-1550] | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3726

(0.1206 sec)