Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความสว่าง, สว่าง, ความ , then ความ, ความสวาง, ความสว่าง, สวาง, สว่าง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความสว่าง, 3750 found, display 901-950
  1. ถวนา : (อิต.) ความชม, ฯลฯ. ถุ อภิตฺถเว ยุ.
  2. ถาม : (ปุ.) กำลัง, กำลังใจ, เรี่ยวแรง, ความแก่กล้า. วิ. ติฏฺฐนฺติ เอเตนาติ ถาโม. ฐา คตินิวุตฺติยํ, โม. ฐสฺส ถตฺตํ หรือ ตั้ง ถา ธาตุ ม ปัจ.
  3. ถามคตทิฏฺฐิก : ค. ผู้มีทิฐิอันถึงความแข็งแรง, ผู้มีความเห็นผิดแรงกล้า
  4. ถาวริย : นป. ความถาวร, ความมั่นคง, ความทนทาน
  5. ถาวเรยฺย : นป. ความเป็นผู้มั่นคง, ความเป็นเถระ
  6. ถิติ : (อิต.) อันตั้งอยู่, ความตั้งอยู่, ฯลฯ, ชีวิต. ถา+ติ ปัจ. เอา อา เป็น อิ.
  7. ถิรตา : อิต. ความมั่นคง, ความไม่หวั่นไหว, ความคงทน
  8. ถีนมิทฺธ : (นปุ.) ความหดหู่และความเคลิบเคลิ้ม, ความง่วงเหงาและความหาวนอน.
  9. ถุติ : (อิต.) การชม, การชมเชย, การยกย่อง, การสรรเสริญ, ความชม, ฯลฯ, คำชม, ฯลฯ, ความชอบ, สดุดี. วิ. ถวนฺ ถุติ. ถุ อภิตฺถเว, ติ เป็น ปุ บ้าง. ส. สฺตุติ.
  10. ถุติปาฐก : (ปุ.) บุคคลผู้กล่าวชมคุณ, บุคคลผู้ หมายเหตุความชอบของบุคคล, เจ้าหน้าที่ ผู้หมายเหตุความชอบของบุคคล.
  11. ถูลตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของหนา, ความเป็นของหนา. ถูล+ตฺต ปัจ.
  12. ถูลตา : อิต. ความอ้วน, ความหยาบ
  13. เถยฺยจิตฺต : (นปุ.) จิตประกอบด้วยความเป็น แห่งขโมย, จิตประกอยด้วยความเป็น ขโมย, จิตเครื่องความเป็นขโมย, เถยยจิต ไถยจิต (จิตคิดจะลัก).
  14. เถยฺยเจตนา : (อิต.) ความตั้งใจประกอบด้วย ความเป็นแห่งขโมย. ฯลฯ, ความตั้งใจ ขโมย, เถยยเจตนา ไถยเจตนา (เจตนา ในการเป็นขโมย).
  15. เถยฺยสวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมโดยความเป็น แห่งขโมย, การอยู่ร่วมโดยความเป็นขโมย, การลักเพศ (การแต่งตัวให้ผิดไปจาก เพศเดิม เช่น ปลอมบวชเป็นสมณะ).
  16. เถยฺยสวาสก : (ปุ.) คนลักเพศ. คนลักเพศ คือคนที่ปลอมบวชเป็นภิกษุหรือสามเณร หรือคนที่บวชเอาเอง หรือภิกษุสามเณร ที่ทำผิดวินัยถึงขาดจากความเป็นบรรชิต แต่ยังครองผ้ากาสาวพัตรอยู่.
  17. เถยฺยา : (อิต.) กิริยาแห่งความเป็นขโมย, เจตนาแห่งความเป็นขโมย.
  18. เถยฺยาวหาร : (ปุ.) อวหารแห่งความเป็นขโมย, อวหาร คือความเป็นขโมย วิ. เถยฺยํ เอว อวหาโร เถยฺยาวหาโร.
  19. เถรภูมิ : (อิต.) ชั้นแห่งพระเถระ, ขั้นแห่ง พระเถระ, ชั้นมั่น, ฐานะมั่น, เถรภูมิ ชื่อ ชั้นหรือฐานะของท่านผู้สอบความรู้ใน พระพุทธศาสนา ได้นักธรรมชั้นเอก หรือ หมายถึงพระผู้ใหญ่มีพรรษาครบ ๑๐ แล้ว.
  20. โถม : (ปุ.) การชม,การชมเชย,การยกย่อง,การสรรเสริญ,ความชม,ฯลฯ,คำชม,ฯลฯ.โถมฺสิลาฆายํ,อ,ยุ.
  21. โถมน : (นปุ.) การชม,การชมเชย,การยกย่อง,การสรรเสริญ,ความชม,ฯลฯ,คำชม,ฯลฯ.โถมฺสิลาฆายํ,อ,ยุ.
  22. โถมนา : (อิต.) การชม,การชมเชย,การยกย่อง,การสรรเสริญ,ความชม,ฯลฯ,คำชม,ฯลฯ.โถมฺสิลาฆายํ,อ,ยุ.
  23. ทกฺขตา : อิต. ความเป็นผู้ฉลาดสามารถ, ความชำนาญ, ความคล่องแคล่ว
  24. ทกฺขิณาวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) การเวียนไปทางขวา, ความเวียนไปทางขวา, การเวียนขวา, ทักษิณาวัฏ , ทักษิณาวรรต. การเดิน เวียนขวา เป็นการแสดงความเคารพ อย่างหนึ่ง. เวียนขวาหรือการเวียนขวา นั้น คือสิ่งที่เราจะเวียนอยู่ขวามือของเรา. ส. ทกฺษิณาวรฺต.
  25. ทกฺขิณาวิสุทฺธิ : อิต. ความหมดจดแห่งทักษิณา, ความบริสุทธิ์แห่งไทยธรรมที่นำมาถวาย
  26. ทกฺขิเณยฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ควรซึ่งทักษิณา
  27. ทกฺขิเณยฺยสมฺปตฺติ : อิต. ทักขิไณยสมบัติ, ความถึงพร้อมด้วยบุคคลผู้ควรซึ่งทักษิณา
  28. ทกฺเขยฺย : นป. ความเป็นผู้ฉลาดสามารถ, ความชำนาญ
  29. ทฏฺฐภาว : ป. ความเป็นผู้ถูกกัด
  30. ทณฺฑภย : นป. ภัยคืออาชญา, ความกลัวแต่การลงโทษ, การกลัวถูกลงโทษ
  31. ทตฺติย : (วิ.) มีความเป็นของอัน... ให้แล้ว.
  32. ทนฺตตา : อิต. ความเป็นผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ภาวะที่ได้รับการฝึกหัดอบรมแล้ว
  33. ทนฺตภาว : ป. ความเป็นผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ภาวะที่ได้รับการฝึกหัดอบรมแล้ว
  34. ทนฺตสมฺปตฺติ : อิต. ความถึงพร้อมด้วยฟัน, ความถึงพร้อมแห่งฟัน, ความมีฟันเรียบร้อยสวยงาม
  35. ทนฺตาวล : (ปุ.) ช้าง. ทนฺต อา บทหน้า วลฺ ธาตุในความเลี้ยง อ ปัจ. ส. ทนฺตาวล.
  36. ทนฺติ : (อิต.) การทรมาน, การฝึก, การฝึกหัด, การฝึกฝน, ความทรมาน, ฯลฯ. ทมฺ ทมเน, ติ. แปลง มฺ เป็น นฺ หรือแปลง ติ เป็น นฺติ แล้วลบที่สุดธาตุ.
  37. ทนฺธตา : อิต. ความเป็นคนเฉื่อยชา, ความโง่เขลา
  38. ทนฺธาภิญฺญา : อิต. การเข้าใจความได้ช้า, การตรัสรู้ช้า
  39. ทนฺธายนา : อิต. ความประพฤติช้า, ความเชื่องช้า, ความงุ่มง่าม
  40. ทนฺธายิตตฺต : นป. ความเป็นคนเขลา
  41. ทพฺพน : (นปุ.) ความเขลา, ฯลฯ. ทุ. กุจฺฉิต คมเน, ยุ. พฤธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ
  42. ทพฺพา : (อิต.) คุณชาติเป็นเครื่องจำกัดความชั่ว, ความดี. ทพฺพฺ หึสายํ, อ.
  43. ทม : (ปุ.) การทรมาน, การฝึก, การฝึกหัด, การฝึกฝน, การฝึกสอน, การข่ม, การข่มขี่, การข่มใจ, การปราบ, การอดทน, ความทรมาน, ฯ ลฯ , อาชญา, การปรับไหม, ความรอบรู้, ปัญญา. วิ. ทมนํ ทโม. ทมฺ ทมเน, อ. ส. ทม.
  44. ทมถ : (ปุ.) การทรมาน,ฯลฯ,ความทรมาน,ฯลฯ.ทมฺธาตุถหรืออถปัจ.ศัพท์หลังยุปัจคำทรมานแผลงมาจากทมน.
  45. ทมน : (ปุ.) การทรมาน,ฯลฯ,ความทรมาน,ฯลฯ.ทมฺธาตุถหรืออถปัจ.ศัพท์หลังยุปัจคำทรมานแผลงมาจากทมน.
  46. ทยฺย : (ปุ.) คนไทย (เจริญรุ่งเรืองด้วยความดี). ทุ วุฒฒิยํ, โณ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อย ซ้อน ย.
  47. ทยา : (อิต.) ความเอ็นดู, ความอนุเคราะห์, ความรัก, ความรักใคร่, ความกรุณา. วิ. ทยติ ปรทุกขํ อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ ทยา. ทยฺ ทานคติหึสาทานรกฺขาสุ, อ. อธิบายความหมายของศัพท์ ทยา ตามอรรถของธาตุ ให้คือให้อภัยแก่สัตว์ ไป คือ จิตไปเสมอในคนดีคนชั่วและสัตว์เบียดเบียนคือ รบเร้าจิตเตือนให้ช่วยเหลือผู้อื่น. ส. ทยา.
  48. ทยาลุ : ค. มีกรุณามาก, ผู้เปี่ยมด้วยความกรุณา
  49. ทยาลุ พยาลุก : (วิ.) ผู้มีความเอ็นดูเป็นปกติ วิ. ทยา อสฺส. ปกติ ทยาลุ. ผู้มีความอ็นดู มาก วิ. ทยา อสฺส พหุลา ทยาลุ. ผู้มี ความเอ็นดู วิ. ทยา กรุณา ยสฺสตฺถิ โส ทยาลุ. อาลุ ปัจ. พหุลตัท. ศัพท์หลัง ก สกัด. รูปฯ ๕๖๙ ว่า ลง กฺ อาคม. ส.ทยาลุ.
  50. ทร ทรถ : (ปุ.) ความกลัว, ความเจ็บป่วย, ความกระวนกระวาย, ความเร่าร้อน, ทรฺ ภยทาเหสุ, อ, โถ. ทรสทฺโท จ ทรถสทฺโท จ กายทรเถ จิตฺตทรเถ กิเลสทรเถ จ วตฺตนฺติ. อภิฯ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | [901-950] | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750

(0.1158 sec)