Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็น , then ปน, เป็น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็น, 4306 found, display 1151-1200
  1. อสีติ : (อิต.) แปดสิบ. แปลง อฏฺฐกคือทส๘ครั้ง เป็นอสลง โย วิภัติแปลงโยเป็นอีติรูปฯ ๓๙๗.แปลง ทสที่บอกอรรถว่าสิบ ๘ ครั้ง เป็น อสแปลง โยเป็นอีติ รูปฯ ๓๙๘.ทส ที่แปลว่า สิบ ๒ ครั้ง ๓ ครั้ง ฯลฯ๙ ครั้งเป็นเอกเสสสมาส.
  2. อสุ : (ปุ. อิต.) สาย, ด้าย, ขน, ทาง, เส้น, แถว, ข้อ, ข้อเล็กน้อย, ปลายเส้นด้าย, รัศมี, แสง, แสงสว่าง.อมฺคมเน, อุ, สฺอาคโม. ลบ มฺ นิคคหิตอาคม หรือแปลงมฺ เป็น นิคคหิต.
  3. อาขฺยาต : (นปุ.) อาขยาดชื่อปกรณ์ของบาลีไวยากรณ์ปกรณ์หนึ่งวิ. กิริยํอาขฺยาตีติอาขฺยาตํ (ปทํ สทฺทชาตํ).กิริยํอาจิกฺขตีติอาขฺยาตํ.รูปฯ ๒๔๐.อาขฺยาตีติอาขฺยาตํ.อภิฯ.อาบทหน้า ขฺยาธาตุในความกล่าวตปัจ.ซ้อนกฺ เป็น อากฺขฺยาตบ้าง.
  4. อาชญฺญ : (วิ.) รู้พลัน, รู้รวดเร็ว.อาปุพฺโพ, ญาอวโพธเน, โณฺย.ลงนาปัจ.ประจำธาตุแปลงญา เป็น ชารัสสะลบอา ที่ นาลบณฺรวมเป็นนฺยแปลงนฺย เป็น ญแปลงญเป็นญฺญหรือแปลงนฺยเป็นญฺญก็ได้.ดูวิ.อาชานียด้วย.
  5. อาชานียอาชาเนยฺย : (ปุ.) อาชานียบุคคลอาชาเนยยบุคคล (ผู้ได้รับการอบรมมาดี), ม้าอาชาไนย (มีไหวพริบดี).วิ.อา ภุโสการณาการณํชานาตีติอาชานีโยอาชาเนยฺโยวา.อาบทหน้าญาธาตุนาปัจ. ประจำธาตุและ ณฺยปัจแปลงญา เป็น ชฺแปลงอาที่นาเป็นอีศัพท์หลัง แปลงอีเป็นเอ ซ้อนยฺอกิฯลงอานียหรือ ณฺย ปัจ. ส. อาชาเนย.
  6. อาถพฺพน : (ปุ.) หมอผู้กำจัดโรคร้ายของช้าง.วิ.อาภุโสหตฺถิโนโรคํถุพฺพตีติอาถพฺพโนอาปุพฺโพ, ถุพฺพฺหึสายํ, ยุ, อุสสตฺตํ (แปลงอุเป็นอ). อปิจ, อาภุโส หตฺถิสฺมึเภสชฺชํถเปตีติอาถพฺพโน.อาปุพฺโพ, ถปฺถปเน, ยุ, ปสฺสโว (แปลงป เป็น ว), วสฺสทวิตตํ(แปลงว เป็น วฺวแล้ว แปลงเป็นพฺพ).เวสฯ ๒๔๒.
  7. อารมฺพณอารมฺพน : (นปุ.) การยึดหน่วง, ความยึดหน่วง, อารมณ์.อาปุพฺโพ, ลพิ อวลมฺพเณ, ยุ. แปลงล เป็น ร. ส. อาลมฺพน
  8. อาลสฺย อาลสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งคน เกียจคร้าน, ความเป็นคนเกียจคร้าน. วิ. อลสสฺส ภาโว อาลสฺยํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท ลบ อ ที่ ส ทีฆะ อ อักษรต้นเป็น อา ลบ ณฺ ศัพท์หลังแปลง สฺย เป็น สฺส.
  9. อาลุลิก : (นปุ.) ความขุ่นมัว, กรรมอันขุ่นมัว. อาปุพฺโพ, ลุฬฺ มนฺถเน, อิ. แปลง ฬ เป็น ล ก สกัด.
  10. อาวชฺชนา : (อิต.) ความคำนึง, ความคิด, ความนึก. อาปุพฺโพ, วชฺ สงฺขาเร, ยุ. ลง ณฺย ปัจ. ประจำธาตุ ลบ ณฺ แปลง ชฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  11. อาวิล : (วิ.) ขุ่น, มัว, เศร้าหมอง, แตก, ทำลาย. อาปุพฺโพ, พิลฺ เภทเน, อ. แปลง พ เป็น ว. อภิฯ ลง ณ ปัจ. ส. อาวิล.
  12. อาสตฺต : (วิ.) ตั้งหน้า, เอาใจใส่, มีเพียร, มีสิ่ง นั้น ๆ เป็นใหญ่. อาปุพฺโพ, สญฺชฺ สงฺเค, โต. แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ญฺช.
  13. อาสภ : (วิ.) นี้ของมนุษย์ผู้ประเสริฐ, นี้ของโค อุสภะ. วิ. อุสภสฺส อิทํ อาสภํ. อุสภสฺส อยํ อาสโภ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง อุ เป็น อา.
  14. อาสิ อาสี : (อิต.) ความหวังด้วยวัตถุ (เรื่อง) อัน...ปรารถนาแล้ว. อิฏฺฐสฺส วตฺถุโน อาสึสนา. ความหวังดี, การให้พร, อาเศียร. ส. อาศิสฺ แปลง สฺ เป็น รฺ เป็น อาศิร.
  15. อาหารช : (วิ.) เกิดแต่อาหาร วิ. อาหารสฺมา ชาโตติ อาหารโช. กฺวิ ปัจ. ใน อรรถชาต. อาหารสฺมา ชาโต อาหารโช. ปัญจมีตัป. แปลง ชาต เป็น ช.
  16. อาหินฺทน : (นปุ.) การเที่ยวไป. อาปุพฺโพ, หิฑิ คติยํ, ยุ. แปลง ฑ เป็น ท, นิคคหิต อาคม.
  17. อาหุเณยฺย อาหุเนยฺย : (วิ.) ผู้ควรรับจตุปัจจัย อันบุคคลนำมาแต่ไกลบูชา วิทูร โต อาเนตฺวา หุโตติ อาหุโณ (อันบุคคลนำมา แต่ที่ไกลบูชา). อาหุโณ จตุปจฺจโย อาหุณจตุปจฺจโย. อาหุณจตุปจฺจยสฺส คหณํ อาหุณจตุปจฺจยคหณํ. อาหุณจตุ- ปจฺจยคหณํ อรหตีติ อาหุเณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ฐานตัท. ควรแก่ทานอันบุคคล นำมาบูชา. ควรแก่ทานอันบุคคลพึงนำมาบูชา. วิ. อาเนตฺวา หุยเตติ อาหุณํ. อาเนตฺวา หุนิตพฺพนฺติ วา อาหุนํ. อาเนตฺวาบทหน้า หุ ธาตุในความบูชา ยุปัจ. อาหุณสฺสอรหตีติ อาหุเณยฺ โย. ควรซึ่ง (แก่) วัตถุอันบุคคลให้ (ถวาย) โดย ความเอื้อเฟื้อ วิ. อาทเรน หุยเต นิยเตติ อาหุณํ. อาทรบทหน้า หุ ธาตุในความให้ ยุ ปัจ. อาหุณํ อาหุณสฺส วา อรหตีติ อาหุ เณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ศัพท์หลังแปลง ยุ เป็น อน.
  18. อาฬินฺท : (ปุ.) ดู อาลินฺท. แปลง ล เป็น ฬ.
  19. อิกฺกฏ : (ปุ.) หญ้าปล้อง, อิจฺ สุติยํ, อโฏ. แปลง จ เป็น ก ซ้อน กฺ
  20. อิงฺคุที : (อิต.) ไม้สำโรง. อิงฺคฺ คติยํ, อิโท, อิสฺสุ (แปลง อิ เป็น อุ). ไม้จำปา ก็แปล
  21. อิจฺฉ : (นปุ.) ความปรารถนา, ความยินดี, ความเพลิดเพลิน, ความอยาก, ความอยากได้, ความใคร่, ความหวัง, ความต้องการ, ความใส่ใจ. อิสุ อิจฺฉายํ, อ, สุสฺส จฺโฉ (แปลง สุ เป็น จฺฉฺ).
  22. อิช : (ปุ.) การบูชา, การเซ่น, การเซ่นสรวง, การบูชาเทพ, คนผู้บูชา, ฯลฯ. ยชฺ เทวปูชายํ, อ, ยสฺสิ (แปลง ย เป็น อิ).
  23. อิชฺชา : (อิต.) การบูชา, ฯลฯ, การชุมนุม. ยชฺ ธาตุ ณฺย ปัจ. แปลง ย เป็น อิ แปลง ชฺย เป็น ชฺช อา อิต.
  24. อิฏฺฐ : (วิ.) พอใจ, พึงใจ, น่าพึงใจ, ชอบใจ, ใคร่, สวย, งาม. ปรารถนา, ต้องการ, อิสุ อิจฺฉายํ, โต. แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบ สุ. ส. อิษฺฎ.
  25. อิณ : (นปุ.) เงินค้าง, การให้ยืม, หนี้. วิ. เอติ วุฑฺฒึ คจฺฉตีติ อิณํ. อิ คติยํ, ยุ, นสฺส ณตฺตํ. (แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุ เป็น ณ) อถวา, อิณุ คติยํ, อ. ส. ฤณ.
  26. อิตฺถ : (อัพ. นิบาต) อย่างนี้, ประการนี้, ประการะนี้. ด้วยประการฉะนี้, ดังนี้, นี่แหละ, อิม ศัพท์ ถํ ปัจ. อัพ๎ยตัท. แปลง อิม เป็น อิ แปลง ถํ เป็น ตฺถํ หรือ ซ้อน ตฺ ก็ได้ กัจฯ ๓๙๙ รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ได้ตั้งแต่ ปฐมาวิภัติ ถึง สัตมีวิภัติ.
  27. อิโต : (อัพ. นิบาต) แต่...นี้, แต่...ข้างนี้, แต่นี้, แต่ข้างนี้, ข้างนี้. อิม ศัพท์ โต ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ.
  28. อิทปจฺจย อิทปฺปจฺจย : (วิ.) (สังสารวัฏ) มีกิเลส มีอวิชชาเป็นต้นนี้เป็นปัจจัย. วิ. อิทํ อวิชฺชาทิ ปจฺจโย เอเตสนฺติ อิทปจฺจ โยอิทปฺปจฺจ โยวา. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. แปลง อิม เป็น อิทํ เมื่อเป็นบทปลง ลบ นิคคหิตโมคฯ สมาสภัณฑ์ ๕๕.
  29. อิทสจฺจาภินิเวส : (ปุ.) ความยึดมั่นว่าสิ่งนี้มีจริง. แปลง อิม เป็น อิทํ เมื่ออยู่หน้าบทสมาส.
  30. อิทานิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลนี้, ในคราวนี้, คราวนี้, เดี๋ยวนี้, บัดนี้. อิม ศัพท์ ทานิ ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ ใช้เป็นประธานบ้าง อุ. ภนฺเต อิทานิ ฯลฯ. ขุ.ธ.
  31. อิทิ : (วิ.) มีปกติบูชา วิ. ยชสีโล อิทิ. ลบ สึล แปลง ย เป็น อิ ช เป็น ท อิ ปัจ.
  32. อิธ : (อัพ. นิบาต) ใน...นี้, ในบัดนี้, ในที่นี้. วิ. อิมสฺมึ ฐาเน  อิธ. อิม ศัพท์ ธ ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ.
  33. อิธุม : (นปุ.) ฟืน, เชื้อฟืน, เชื้อไฟ. วิ. เอธยตีติ อิธุมํ. เอธฺ วุฑาฒิยํ, อุโม, แปลง เอ เป็น อิ.
  34. อินฺทน : (นปุ.) ฟืน. เอธฺ วุฑฺฒิยํ, ยุ. แปลง เอ เป็น อิ แปลง ธ เป็น ท. นิคคหิตอาคม. อินฺทน
  35. อินฺทิย อินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่, ร่าง กาย, ร่างกายและจิตใจ, กำลัง, กำลังกาย, อำนาจ, ความรู้สึก, สติปัญญา, ประสาท, หน้าที่, อินทรีย์ (ความเป็นใหญ่ในกิจ นั้น ๆ). วิ. อินฺโท อตฺตา, ตสฺส ลิงฺคํ อินฺทิยํ อินฺทริยํ วา. อิย ปัจ. อินฺทติ ปรมิสฺสริยํ กโรตีติ วา อินฺทิริยํ. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อิโย. ศัพท์หลังแปลง ท เป็น ทฺร. ส. อินฺทริย.
  36. อินฺธน : (นปุ.) การจุดไฟ, เชื้อ, เชื้อไฟ, ไม้ สำหรับติดไฟ, ฟืน. วิ. เอธยเตติ อินฺธนํ. เอธฺ วุทฺธิยํ, ยุ, เอสฺส อิ (แปลง เอ เป็น อิ), พินฺทฺวาคโม (นิคคหิต อาคม). ส. อินธน.
  37. อิลฺลล : (ปุ.) นก. อิลฺ กมฺปนคตีสุ, โล. แปลง ลฺ เป็น ลฺล.
  38. อิลฺลี : (อิต.) อิลลี ชื่อดาบชนิดหนึ่ง, เขน ชื่อ เครื่องมือสำหรับป้องกันอาวุธ รูปสี่เหลี่ยม ผืนผ้า. เป็น อิลี โดยไม่แปลง ล เป็น ลฺล บ้าง.
  39. อิส : (ปุ.) อิสะ ชื่อหมีชนิดหนึ่ง, หมี, ค่าง, แรด. อีสฺ คติหึสาทาเนสุ, โส, รสฺโส, สฺโลโป. เป็น อิสฺส โดยไม่ลบ สฺ ก็มี.
  40. อิสธร อิสินฺธร : (ปุ.) อิสธร อิสินธร ชื่อภูเขา ลูกหนึ่งใน ๗ ลูก ซึ่งเป็นบริวารของเขา สุเมรุ อภิฯ และ ฎีกอภิฯ เป็น อีสธร.
  41. อิสฺส : (ปุ.) อิสสะ ชื่อหมีชนิดหนึ่ง, หมี, ค่าง, แรด. อิสฺ อีสฺ คติหึสาทาเนสุ, โส. ไม่ลบ ที่สุดธาตุ. ถ้าตั้ง อีสฺ ก็รัสสะ อี เป็น อิ.
  42. อิสฺสาส : (ปุ.) ธนู, คนแผลงธนู, คนยิงธนู. วิ. อุสุ อสตีติ อิสฺสาโส. อุสุปุพฺโพ, อสุ เขปเน, โณ. แปลง อุ เป็น อิ และ อุ ที่ สุ เป็น อ ซ้อน สฺ.
  43. อิสฺเสร : (นปุ.) ความยิ่งใหญ่, ความเป็นเจ้า, ความเป็นใหญ่. ณ ปัจ. ภาวตัท สกัด แปลง อ ที่ ส เป็น เอ.
  44. อิห : (อัพ. นิบาต) ใน...นี้. อิม ศัพท์ ห ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ.
  45. อีติ : (อิต.) ธรรมชาติมาเพื่อความฉิบหาย, เสนียด, จัญไร, อุบาทว์, อันตราย. วิ. อนตฺถาย เอตีติ อีติ. อิ คมเน, ติ, ทีโฆ. แปลง ติ เป็น ทิ เป็น เอทิ บ้าง. ศัพท์กิริยา เอติ แปลว่า ย่อมมา มาจาก อาบทหน้า อิ ธาตุ ติ วิภัติ.
  46. อีทิส อีทิกฺข อีริส อีริกฺข อีที : (วิ.) เช่นนี้ วิ. อิมมิว นํ ปสฺสตีติ อีทิโส (เห็นซึ่ง บุคคลนั้นราวกะว่าบุคคลนี้). อิม ศัพท์ ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบ ม แล้วทีฆะหรือแปลง อิม เป็น อิ แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี กัจฯ ๖๔๒ รูปฯ ๕๗๒.
  47. อีริณ : (นปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดินหาที่อาศัยมีได้, ที่หาประโยชน์มิได้, ที่กันดาร, ที่มีดินเค็ม, ที่เกลือขึ้น, ทุ่ง, ป่าใหญ่, อภิฯ เป็น อิรีณ. ส. อีริณ.
  48. อุกฺกฏฺฐา : (อิต.) อุกกัฏฐา ชื่อนคร ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ. อุกฺก บทหน้า ธรฺ ธาตุ อ ปัจ. แปลง ธรฺ เป็น ฐ ซ้อน ฏฺ. อุกฺกฏฺฐิ
  49. อุกฺการ : (ปุ.) ขี้, คูถ, อุจจาระ. วิ. อวกิรียเตติ อุกฺกาโร. อวปุพฺโพ, กิรฺ วิกฺขิปเน, อ, อวสฺสุตฺตํ (แปลง อว เป็น อุ), อิสฺสา (แปลง อิ เป็น อา).
  50. อุกฺเขปนิยกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำ แก่ภิกษุผู้อันสงฆ์พึงยกขึ้น, การลงโทษ โดยยกเสียจากหมู่. อุกฺเขปนิยกรรม เป็น กรรมที่สงฆ์พึงทำแก่ภิกษุผู้ต้องอาบัติแล้ว ไม่ยอมรับว่าเป็นอาบัติ และไม่ทำคืน (ไม่ ปลงอาบัติหรืออยู่กรรม) ด้วยการลงโทษ ยกเสียจากหมู่ คือ ตัดเสียชั่วคราว เป็น สังฆกรรมอันสงฆ์พึงทำด้วยวิธีญัติจตุตถ- กรรมวาจา. ไตร ๖/๑๓๔.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | [1151-1200] | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4306

(0.1348 sec)