อุทฺเทสิก : (ปุ.) การยกขึ้นแสดง, ฯลฯ, อุทเทส อุเทส (จัดอย่างหัวข้อที่ตั้งไว้ สังเขปรวม เป็นข้อ ๆ ไว้ การสอนหรือการเรียนบาลี). อุปุพฺโพ, ทิสฺ ปกาสเน, โณ, ทฺสํโยโค.
อุทฺเทหก : ก. วิ. อย่างเดือดพล่าน
อุทฺธจฺจ : (นปุ.) ความฟุ้งซ่าน, ความคิดพล่าน, อุทธัจจะ (ความคิดพล่านไปในอารมณ์ ต่าง ๆ อย่างเผลอตัว). วิ. อุทฺธํ หนตีติ อุทฺธโต. อุทิธํปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, โต, หนสฺส โธ (แปลง หน เป็น ธ), อสรูปทฺวิตตํ (แปลง ธ เป็น ทฺธ และ ลบ ทฺธํ ที่บทหน้า). อุทฺธตสฺส ภาโว อุทฺธจฺจํ. ณฺย ปัจ. กัจฯ และ รูปฯ ลง ย ปัจ.
อุปนิธาย : อ. อย่างเทียบเคียง
อุปนิพนฺธน : นป. การเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด, การรบเร้า
อุปนิสฺสย : (ปุ.) ธรรมเป็นที่เข้าไปอาศัย, ธรรมเป็นอุปนิสัย, ฉันทะเป็นที่เข้าไป อาศัย, อุปนิสสัย อุปนิสัย คือความประพฤติเคยชิน เป็นพื้นมาแต่อดีตชาติ คุณ ความดีที่ฝังอยู่ใน สันดาน ซึ่งจะเป็นฐาน รองรับผลดียิ่ง ๆ ขึ้นไป หรือแววของจิต. ในอภิธรรม หมายเอา คุณความดีอย่างเดียว ส่วนคำนิสสัย นิสัย หมายเอาทั้งทางดีทางชั่ว. อุป นิ ปุพฺโพ, สิ สี วา สเย, อ.
อุปมาน : (นปุ.) ความเปรียบ, ความเปรียบเทียบ. การเปรียบ, การเปรียบเทียบ, คำเป็นเครื่องเปรียบ, คำเป็นเครื่องเปรียบเทียบ, อุปมา, อุปมาน. วิ. อุปมียเต เยน ตํ อุปมานํ. รูปฯ ๕๒๐ วิ. อุปมียติ เอเตนาติ อุปมานํ. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ. อุปมาน ชื่อ ของการศึกษาอย่างหนึ่ง คือ การศึกษาจาก ข้อเท็จจริงที่เหมือนกันหลายอย่าง แล้วตั้งเป็นกฎเกณฑ์ขึ้น. ส. อุปมาน. อุปเมยฺย (ปุ.?) อุปไมย คือสิ่งที่จะหาสิ่งอื่น มาเปรียบเทียบได้ สิ่งที่เปรียบได้. ส. อุปเมย.
อุภโต : (อัพ. นิบาต) สองข้าง, สองฝ่าย, สองอย่าง.
อุภโตพฺยญฺชนก : (วิ.) มีเพศสองอย่าง คือทั้ง เพศชาย และเพศหญิงอยู่ในบุคคลคนเดียว กัน. วิ. อุภโตพฺยญฺชน มสฺส อตฺถีติ อุภโตพฺยญฺชน โก. ก สกัด ฉ. ภินนาธิกรณพหุพ. อุภโต ปวตฺตํ พฺยญชนํ ยสฺสอตฺถีติ อุภโตพฺยญชนโก. ไตร. ๔ / ๑๘๐.
เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
เอกจฺจ : (วิ.) หนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, บางคน, บางพวก, บางอย่าง, วังเวง, ไม่มีเพื่อน, โดดเดี่ยว, ฯลฯ. เอโก เอว เอกจฺโจ. เอก ศัพท์ จฺจ ปัจ.
เอกฉนฺท : (วิ.) มีความพอใจอย่างเดียวกัน, มี ความมุ่งหมายอย่างเดียวกัน, มีความเห็น เป็นอย่างเดียวกัน.
เอกตฺถ : (วิ.) มีอรรถอย่างเดียว, ฯลฯ. ส. เอการฺถ.
เอกเทส : (ปุ.) ภาคหนึ่ง, ส่วนหนึ่ง, เอกเทส เอกเทศ (เฉพาะอย่าง). ส. เอกเทศ.
เอกนฺต : ก. วิ. แน่นอน, อย่างแน่นอน
เอกวิธ : ค. มีอย่างเดียว, ไม่ต่างกัน
เอกเสน : ก. วิ. โดยส่วนเดียว, อย่างแน่นอน
เอณิชงฺฆ : ค. มีแข้งเรียวดุจแข้งเนื้อทราย (ลักษณะอย่างหนึ่งของมหาบุรุษ)
เอตาทิส, - ริส : ค. เหมือนอย่างนี้, เช่นนี้
เอทิส : ค. เช่นนี้, เช่นนั้น, อย่างนั้น
เอว : (อัพ. นิบาต) เทียว, แล, นั่นเทียว, นั่น แล, นั่นเอง, อย่างเดียว, ทีเดียว, เท่านั้น, ทั้งนั้น, แน่นอน, แน่ละ, นั่นแหละ, นี่ แหละ, สักว่า, คือ, แน่, เด็ดขาด, ไม่เว้นละ.
เอว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น, นี้, อย่างนี้, ด้วยประการนี้, ด้วยประการอย่าง นี้, ด้วยประการนั้นเทียว, เท่านั้น, อย่างนั้น. ที่ใช้เป็นประธาน เอวํ อ. อย่างนั้น, อ. อย่างนี้ ที่ใช้เป็นคำถาม เหน็บคำว่า “หรือ”.
เอวชาต : (วิ.) เกิดแล้วอย่างนี้.
เอวปิ เอวมฺปิ : (อัพ. นิบาต) แม้ฉันนั้น, แม้ อย่างนี้, แม้อย่างนั้น, ฯลฯ.
เอวภูต : (วิ.) เป็นแล้วอย่างนี้, บังเกิดแล้ว อย่างนี้, ฯลฯ, มีอย่างนี้เป็นแล้ว, ฯลฯ.
เอวมาทิ : (วิ.) มีคำอย่างนี้ว่า...เป็นต้น, มีคำ อย่างนี้ เป็นต้น.
เอวรูป : (นปุ.) กรรมมีอย่างนี้เป็นรูป.
เอวรูป เอวรูป : (วิ.) มีอย่างนี้เป็นรูป, มีรูป อย่างนี้, มีรูปเช่นนี้, มีรูปเห็นปานนี้. วิ. เอวํ รูปํ ยสฺส โส เอวรูโป เอวํรูโป วา. ศัพท์ต้น ลบนิคคหิต.
เอวสมุปฺปนฺน : (วิ.) บังเกิดแล้วอย่างนี้.
โอธิก : ค. มีอย่างต่างๆ , มากมาย