Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นประจำ, ประจำ, เป็น , then ปน, ประจำ, เป็น, เป็นประจำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นประจำ, 4363 found, display 1051-1100
  1. สุณข : (ปุ.) สุนัข, หมา. วิ. สุนฺทรํ นข เมตสฺสาติ สุณโข. อถวา, สุนฺ คติยํ สทฺเท วา, โข. แปลง น เป็น ณ. หรือตั้ง สุน ศัพท์ แปลง อุน เป็น อุณข อภิฯ.
  2. สุตฺต : (นปุ.) ความหลับ, ความฝัน. สุปฺ สยเน, โต. แปลง ปฺ เป็น ตฺ หรือแปลง ต เป็น ตุต ลบที่สุดธาตุ.
  3. สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
  4. สุทุทฺทส : (นปุ.) สุทุททสะ ชื่อพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. ปสฺสิตํ ุ สุทุกฺกรตาย สุททุทฺทสํ. สุ ทุ ปุพฺโพ. ทิสฺ เปกฺขเณ, อ. แปลง อิ ที่ ทิ เป็น อ ซ้อน ทุ.
  5. สุธี : (ปุ.) คนมีปัญญา, นักปราชญ์, บัณฑิต. วิ. โสภนํ ฌายตีติ สุธี. โสภณปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, อี, ฌสฺส โธ. ลบ ภน เหลือ โส แปลง โอ เป็น อุ. สุนฺทรา ธี อสฺสาติ วา สุธี. ส. สุธี.
  6. สุนข : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนศัพท์ แปลง อุน เป็น อุนข ยังมีนัยอื่นอีก ดู สุณข เทียบ. ศ. ศุนก.
  7. สุนฺทรตา : (อิต.) ความที่แห่ง...เป็น...อันงาม.
  8. สุปฎฺฎ : (ปุ.) ประเทศเป็นที่ข้าม. สุฎฺฐุปุพฺโพ, ปฎฺ คติยํ, อ. แปลง ฎ เป็น ฎฎ.
  9. สุปุปฺผิตตรุณวนสณฺฑมณฺทิต : (วิ.) (ป่าท.) อันประดับแล้วด้วยชัฎแห่งป่าแห่งต้นไม้ มีดอกอันบานดีแล้วและต้นไม้มีดอกอ่อน. เป็น ต.ตัป. มี ฉ. ตัป. วิเสสนบุพ. กัม. ฉ. ตุล. ฉ. ตุล. อ. ทวัน. และ ฉ. ตัป. เป็นภายใน.
  10. สุภกิณฺห : (ปุ.) สุภกิณหะ ชื่อภพเป็นที่อุบัติของสุภกิณหพรหม เป็นชั้นที่ ๙ ใน ๑๖ ชั้น ชื่อรูปพรหมชั้นที่ ๙ (ผู้มีรัศมีสวยงามตลอดทั่วไปทั้งร่างกาย). ลง ก สกัด เป็น สุภกิณฺหก บ้าง.
  11. สุริย : (ปุ.) พระอาทิตย์, ดวงอาทิตย์, สุริยน, สุริยัน. วิ. โลกานํ สุรภาวํ ชเนตีติ สุริโย. สรตีติ วา สุริโย. สรฺ คติยํ, โย. สรสฺส สุริ. อนฺธการวิธมเนน สตฺตานํ ภยํ สุนาตีติ วา สุริโย. สุ หึสายํ, อิโย, รฺ อาคโม. กัจฯ ๖๗๓ รูปฯ ๖๖๗ ลง อิส ปัจ. แปลง ส เป็น ย.
  12. สุวาณ สุวาน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ, โณ, อุสฺส อุวาเทโส. ศัพท์ต้นแปลง น เป็น ณ. รูปฯ ๖๔๗ ตั้งสุนศัพท์ แปลง อุน เป็น อุวาน.
  13. สุวิชาน : (วิ.) ผู้รู้ดี. สุ วิ ปุพฺโพ, ญา ญาเน, ยุ. แปลง ญา เป็น ชา.
  14. สุวิญฺเญยฺย : (วิ.) อัน...พึงรู้ได้โดยง่าย, อัน...พึงรู้แจ้งได้โดยง่าย. ณยฺ ปัจ. แปลง ณฺย กับ อา เป็น เอยฺย.
  15. สุสาน : (นปุ.) ที่เป็นที่นอนแห่งศพ, ป่าช้า. วิ. ฉวสฺส สยนฎฺฐานํ สุสานํ. ฉวสฺส สุ, สยนสฺส สาโน. หรือลบ ย แปลง อ ที่ ส เป็น อา.
  16. สุสุ : (วิ.) หนุ่ม, รุ่น. สสฺ ปาณเน, อุ. อสฺสุ. กัจฯและรูปฯ ๖๔๘ ตั้ง ตรุณ ศัพท์อาเทส เป็น สุสุ.
  17. สูณ สูน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ, อ, ทีโฆ. สุ สวเน วา, ยุ. ศัพท์ต้นแปลง น เป็น ณ อภิฯ.
  18. เสขร : (ปุ.) ดอกไม้กรองบนศรีษะ, ดอกไม้ประดับบนศรีษะ, เทริด, มงกุฎ. วิ. สิขายํ ชาโต เสขโร. ร ปัจ. พฤทธิ อิ เป็น เอ. ลูกประคำ ก็แปล.
  19. เสขิย : (วิ.) อัน...พึงศึกษา, อัน...ควรศึกษา, อัน...ควรใส่ใจ, อัน...พึงใส่ใจ. สิกฺขฺ วิชฺโช ปาทาเน, โณฺย. วิการ อิ เป็น เอ ลบ กฺ และ ณฺ อิ อาคม.
  20. เสจน : (วิ.) เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, สูงสุด, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, ประเสริฐที่สุด. วิ. สพฺเพ อิเม ปสตฺถา, อยมิเมสํ วิเสเสน ปสตฺโถติ เสฏโฐ. ปสตฺถ+อิฎฺฐ ปัจ. แปลง ปสตฺถ เป็น ส รูปฯ. ๓๗๖ และอภิฯ.
  21. เสณ เสน : (ปุ.) เหยี่ยว, นกเหยี่ยว, หนามเล็บเหยี่ยว ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง. สิ พนฺธเน. ณ, น ปัจ. คง ณ ไว้ วิการ อิ เป็น เอ หรือ เส คติยํ.
  22. เสทช : (ปุ.) สัตว์เกิดแต่เหงื่อไคล, สัตว์เกิดแต่น้ำเน่า เช่น หนอนเป็นต้น. เสทกรณตฺตา อุสฺมา เสโท, ตโต ชาตา เสทชา. เป็น สํเสทช บ้าง.
  23. เสยฺย : (วิ.) ดี, ดีกว่า, ประเสริ,, ประเสริฐกว่า. ปสตฺถิ+อิย ปัจ. เสฎฐตัท, แปลง ปสตฺถ เป็น ส.
  24. เสยฺยถีห : (อัพ. นิบาต) แล เป็น ปทปูรณะบ้าง ลงอรรถว่า อ. สิ่งนี้ (อิทํ วตฺถุ) คืออะไร (เสยฺยถา) บ้าง, อย่างไรนี้ บ้าง.
  25. เสยฺยา : (อิต.) การนอน, ที่นอน, ไสยา. สึ สเย, โย. แปลง อี เป็น เอ ย เป็น ยฺย รูปฯ ๖๔๕.
  26. เสลน : (นปุ.) เสียง, เสียงโห่ร้องของนักรบ (โยธสีหนาท). สีลฺ อุปธารเณ อุจฺเจ วา. ยุ. แปลง อี เป็น เอ. การร้องแสดงความยินดี ก็แปล.
  27. โสขุมฺม : (นปุ.) ความเป็นแห่งความนิ่มนวล, ฯลฯ. สุขุม+ณฺย ปัจ. แปลง มฺย เป็น มฺม.
  28. โสคนฺธิก โสคนฺธิย : (นปุ.) จงกลนี วิ. สุคนฺเธน ยุตฺตํ โสคนฺธิกํ. ณิกปัจ. ศัพท์ หลัง แปลง ก เป็น ย.
  29. โสณฺฑ : (ปุ. นปุ.) งวงช้าง. โสณฺ คติยํ, โฑ. โสฑฺ คพฺเภ วา, โณ, นิคฺคหิตาคโม. เป็น โสณฑา (อิต.) บ้าง.
  30. โสณฺณ : (นปุ.) ทอง, ทองคำ, สุปุพฺโพ, สุฎฐุปุพฺโพ วา, อิณฺ คติยํ ทิตฺติยญฺจ, โณ, อุสฺโส (แปลง อุ ที่ สุ เป็น โอ). อโลโป, ทฺวิตฺตํ.
  31. โสณี : (อิต.) เอว, ตะโพก. สุ ปสเว, ณี. อภิฯ แต่ฎีกาอภิฯ ลง ณิ ปัจ. เป็น โสณิ. ไม่ลบ ณฺ. เป็น โสนี ก็มี.
  32. โสตฺถิก โสตฺถิย : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสวัสดี, ฯลฯ. ณิก ปัจ. ตรัทยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย.
  33. โสทร โสทริย : (ปุ.) พี่ชายท้องเดียวกัน, น้องชายเดียวกัน, พี่น้องชายท้องเดียวกัน. วิ. สมาโนทเร ชาโต ฐโต วา โสทโร โสทริโย วา, สมาน+อุทร+ณ, อิย ปัจ. แปลง สมาน เป็น ส เ ป็น ส+อุทร แปลง อุ เป็น โอ เป็น โสทร, โสทริย. ส. โสทร.
  34. โสน : (ปุ.) สุนัข, หมา. โสณ ศัพท์แปลง ณ เป็น น.
  35. โสปฺป : (นปุ.) การหลับ, การนอนหลับ. วิ. สุปนํ โสปฺปํ สุปฺ สยเน, โ ณฺย. แปลง ปฺย เป็น ปฺป.
  36. โสปาน : (ปุ. นปุ.) บันได, พะอง. วิ. สห อุปาเนน วตฺตตีติ โสปาโน. แปลง น เป็น ณ โสปาณ บ้าง. ส. โสปาน.
  37. โสภคฺค : (นปุ.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความรุ่งเรือง, ความดี, ความสง่า, ความสุข, ความเกษม, ความสำเร็จ, โชคดี. เสาวภาคย์. สุภา+ณฺย ปัจ. สกัด. เอา อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ค ลบ ณฺ แปลง คฺย เป็น คฺค.
  38. โสภณ โสภณ : (วิ.) ดี, งาม, ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ. จรูญ, จำรูญ. รุ่งเรือง. สุภฺ ทิตฺติยํ, ยุ, อุสฺโส ศัพท์ต้น แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุ เป็น ณ. ส. โศภน.
  39. โสมนสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีใจดี, ความเป็นผู้มีใจดี, ความปลาบปลื้ม, ความเบิกบาน, ความสุขทางใจ, ความสุขทางใจ, ความโสมนัส, โสมนัส คือเสวยอารมณ์ที่สบายอันเกิดแต่เจโตสัมผัส. วิ. สุมนสฺส ภาโว โสมนสฺสํ. สุมน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลงสฺ อาคม แปลง ย เป็น ส รูปฯ ๓๗๑.
  40. โสรสโสฬส : (ไตรลิงค์) สิบหก. แจกรูปเหมือนปญฺจ วิ. จ ทส จ โสรส โสฬส วา. ฉหิ อธิกา ทสาติ โสรส โสฬส วา. ฉ+ทส แปลง ฉ เป็น โส ท เป็น ร หรือ ฬ. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๑, ๑๐๔. ส. โษฑศนฺ
  41. โสวจสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยง่าย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลสอนได้โดยง่าย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ว่าง่าย, ความเป็นคนว่าง่าย, ความเป็นผู้ว่าง่าย, ความเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย. วิ. สุวจสฺส ภาโว โสวจสฺสํ. สุวจ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลง สฺ อาคม แปลง ย เป็น ส หรือ แปลง สฺย เป็น สฺส ก็ได้.
  42. หฺชช : (วิ.) อันพึงใจ, น่าพึงใจ, น่ายินดี, ยินดี, พึงใจ. วิ. หทเย สาธุ หชฺชํ หทยสฺส วา ปิยนฺติ หชฺชํ. หทย+ณฺย ปัจ. ลบอักษรที่สุดแห่งศัพท์ คือ ย ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  43. หตฺถิก : (ปุ.) ตุ๊กตาช้าง. หตฺถี+ก ปัจ. ลงในอรรถเปรียบเทียบ รัสสะ อี เป็น อิ. สัตว์นี้เพียงดังช้าง วิ. หตฺถี อิว อยํ สตฺโต หตฺถิโก.
  44. หตฺถิกลก หตฺถิกุลภ : (ปุ.) ช้างสะเทิน (สะเทิน คือรุ่น), ช้างรุ่น. หตฺถี+กลภ ศัพท์หลังแปลง อ เป็น อุ.
  45. หรายน : (นปุ.) ความละอาย, หเร ลชฺชายํ, ยุ. แปลง เอ เป็น อาย.
  46. หริตายุตฺต : (ปุ.) หอม, หัวหอม. เป็น หริตายุต ก็มี.
  47. หริสฺสวณฺณ : (วิ.) มีสีดังว่าสีแห่งทอง, มีรัศมีอันงามดุจสีแห่งทอง, มีวรรณะเสมอด้วยทอง, มีสีเสมอด้วยทอง, มีผิวงามเหมือนทอง. วิ. หรินา สมาโน วณฺโณ ยสฺสาติ หริสฺสวณฺโณ. แปลง สมาน เป็น ส ซ้อน สฺ.
  48. หรึตกี : (อิต.) สมอ, สมอไทย. วิ. โรคภยํ หรตีติ หรีตกี. หรฺ อปนยเน, อโต. แปลง อ ที่ ร เ ป็น อี ก สกัด อี อิต. แปลง ต เ ป็น ฎ เป็น หรีฎกี ก็มี แปลง อ เป็น อิ และซ้อน ตฺ เป็น หริตฺตกี ก็มี.
  49. หล หฬ : (ปุ.) คนพาล คือคนอ่อน อายุยังน้อยอยู่ ไม่ใช่คนเกเร, เด็ก. วิ. โหเลติ ภูมึ ภินฺทนฺโต มตฺติกภณฺฑํ จาเลตีติ หโล หโฬ วา. หฺลฺ หฬฺ วา วิเลขเน, อ. หุลฺ กมฺปเน วา. แปลง อุ เป็น อ.
  50. หเว : (อัพ. นิบาต) จริง, แท้, แน่แท้, โดยแท้. เอกัง สัตถวาจา. แล เป็น ปทปูรณะ, เว้ย, โว้ย.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | [1051-1100] | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4363

(0.1427 sec)