Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นประจำ, ประจำ, เป็น , then ปน, ประจำ, เป็น, เป็นประจำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นประจำ, 4363 found, display 1201-1250
  1. อิโต : (อัพ. นิบาต) แต่...นี้, แต่...ข้างนี้, แต่นี้, แต่ข้างนี้, ข้างนี้. อิม ศัพท์ โต ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ.
  2. อิทปจฺจย อิทปฺปจฺจย : (วิ.) (สังสารวัฏ) มีกิเลส มีอวิชชาเป็นต้นนี้เป็นปัจจัย. วิ. อิทํ อวิชฺชาทิ ปจฺจโย เอเตสนฺติ อิทปจฺจ โยอิทปฺปจฺจ โยวา. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. แปลง อิม เป็น อิทํ เมื่อเป็นบทปลง ลบ นิคคหิตโมคฯ สมาสภัณฑ์ ๕๕.
  3. อิทสจฺจาภินิเวส : (ปุ.) ความยึดมั่นว่าสิ่งนี้มีจริง. แปลง อิม เป็น อิทํ เมื่ออยู่หน้าบทสมาส.
  4. อิทานิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลนี้, ในคราวนี้, คราวนี้, เดี๋ยวนี้, บัดนี้. อิม ศัพท์ ทานิ ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ ใช้เป็นประธานบ้าง อุ. ภนฺเต อิทานิ ฯลฯ. ขุ.ธ.
  5. อิทิ : (วิ.) มีปกติบูชา วิ. ยชสีโล อิทิ. ลบ สึล แปลง ย เป็น อิ ช เป็น ท อิ ปัจ.
  6. อิธ : (อัพ. นิบาต) ใน...นี้, ในบัดนี้, ในที่นี้. วิ. อิมสฺมึ ฐาเน  อิธ. อิม ศัพท์ ธ ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ.
  7. อิธุม : (นปุ.) ฟืน, เชื้อฟืน, เชื้อไฟ. วิ. เอธยตีติ อิธุมํ. เอธฺ วุฑาฒิยํ, อุโม, แปลง เอ เป็น อิ.
  8. อินฺทน : (นปุ.) ฟืน. เอธฺ วุฑฺฒิยํ, ยุ. แปลง เอ เป็น อิ แปลง ธ เป็น ท. นิคคหิตอาคม. อินฺทน
  9. อินฺทิย อินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่, ร่าง กาย, ร่างกายและจิตใจ, กำลัง, กำลังกาย, อำนาจ, ความรู้สึก, สติปัญญา, ประสาท, หน้าที่, อินทรีย์ (ความเป็นใหญ่ในกิจ นั้น ๆ). วิ. อินฺโท อตฺตา, ตสฺส ลิงฺคํ อินฺทิยํ อินฺทริยํ วา. อิย ปัจ. อินฺทติ ปรมิสฺสริยํ กโรตีติ วา อินฺทิริยํ. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อิโย. ศัพท์หลังแปลง ท เป็น ทฺร. ส. อินฺทริย.
  10. อินฺธน : (นปุ.) การจุดไฟ, เชื้อ, เชื้อไฟ, ไม้ สำหรับติดไฟ, ฟืน. วิ. เอธยเตติ อินฺธนํ. เอธฺ วุทฺธิยํ, ยุ, เอสฺส อิ (แปลง เอ เป็น อิ), พินฺทฺวาคโม (นิคคหิต อาคม). ส. อินธน.
  11. อิลฺลล : (ปุ.) นก. อิลฺ กมฺปนคตีสุ, โล. แปลง ลฺ เป็น ลฺล.
  12. อิลฺลี : (อิต.) อิลลี ชื่อดาบชนิดหนึ่ง, เขน ชื่อ เครื่องมือสำหรับป้องกันอาวุธ รูปสี่เหลี่ยม ผืนผ้า. เป็น อิลี โดยไม่แปลง ล เป็น ลฺล บ้าง.
  13. อิส : (ปุ.) อิสะ ชื่อหมีชนิดหนึ่ง, หมี, ค่าง, แรด. อีสฺ คติหึสาทาเนสุ, โส, รสฺโส, สฺโลโป. เป็น อิสฺส โดยไม่ลบ สฺ ก็มี.
  14. อิสธร อิสินฺธร : (ปุ.) อิสธร อิสินธร ชื่อภูเขา ลูกหนึ่งใน ๗ ลูก ซึ่งเป็นบริวารของเขา สุเมรุ อภิฯ และ ฎีกอภิฯ เป็น อีสธร.
  15. อิสฺส : (ปุ.) อิสสะ ชื่อหมีชนิดหนึ่ง, หมี, ค่าง, แรด. อิสฺ อีสฺ คติหึสาทาเนสุ, โส. ไม่ลบ ที่สุดธาตุ. ถ้าตั้ง อีสฺ ก็รัสสะ อี เป็น อิ.
  16. อิสฺสาส : (ปุ.) ธนู, คนแผลงธนู, คนยิงธนู. วิ. อุสุ อสตีติ อิสฺสาโส. อุสุปุพฺโพ, อสุ เขปเน, โณ. แปลง อุ เป็น อิ และ อุ ที่ สุ เป็น อ ซ้อน สฺ.
  17. อิสฺเสร : (นปุ.) ความยิ่งใหญ่, ความเป็นเจ้า, ความเป็นใหญ่. ณ ปัจ. ภาวตัท สกัด แปลง อ ที่ ส เป็น เอ.
  18. อิห : (อัพ. นิบาต) ใน...นี้. อิม ศัพท์ ห ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ.
  19. อีติ : (อิต.) ธรรมชาติมาเพื่อความฉิบหาย, เสนียด, จัญไร, อุบาทว์, อันตราย. วิ. อนตฺถาย เอตีติ อีติ. อิ คมเน, ติ, ทีโฆ. แปลง ติ เป็น ทิ เป็น เอทิ บ้าง. ศัพท์กิริยา เอติ แปลว่า ย่อมมา มาจาก อาบทหน้า อิ ธาตุ ติ วิภัติ.
  20. อีทิส อีทิกฺข อีริส อีริกฺข อีที : (วิ.) เช่นนี้ วิ. อิมมิว นํ ปสฺสตีติ อีทิโส (เห็นซึ่ง บุคคลนั้นราวกะว่าบุคคลนี้). อิม ศัพท์ ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบ ม แล้วทีฆะหรือแปลง อิม เป็น อิ แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี กัจฯ ๖๔๒ รูปฯ ๕๗๒.
  21. อีริณ : (นปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดินหาที่อาศัยมีได้, ที่หาประโยชน์มิได้, ที่กันดาร, ที่มีดินเค็ม, ที่เกลือขึ้น, ทุ่ง, ป่าใหญ่, อภิฯ เป็น อิรีณ. ส. อีริณ.
  22. อุกฺกฏฺฐา : (อิต.) อุกกัฏฐา ชื่อนคร ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ. อุกฺก บทหน้า ธรฺ ธาตุ อ ปัจ. แปลง ธรฺ เป็น ฐ ซ้อน ฏฺ. อุกฺกฏฺฐิ
  23. อุกฺการ : (ปุ.) ขี้, คูถ, อุจจาระ. วิ. อวกิรียเตติ อุกฺกาโร. อวปุพฺโพ, กิรฺ วิกฺขิปเน, อ, อวสฺสุตฺตํ (แปลง อว เป็น อุ), อิสฺสา (แปลง อิ เป็น อา).
  24. อุกฺเขปนิยกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำ แก่ภิกษุผู้อันสงฆ์พึงยกขึ้น, การลงโทษ โดยยกเสียจากหมู่. อุกฺเขปนิยกรรม เป็น กรรมที่สงฆ์พึงทำแก่ภิกษุผู้ต้องอาบัติแล้ว ไม่ยอมรับว่าเป็นอาบัติ และไม่ทำคืน (ไม่ ปลงอาบัติหรืออยู่กรรม) ด้วยการลงโทษ ยกเสียจากหมู่ คือ ตัดเสียชั่วคราว เป็น สังฆกรรมอันสงฆ์พึงทำด้วยวิธีญัติจตุตถ- กรรมวาจา. ไตร ๖/๑๓๔.
  25. อุคฺคตฺถน : (นปุ.) เครื่องประดับทรวง. วิ. คาวีนํ ถนาการตฺตา คตฺถนํ. โอสฺสตฺตํ (แปลง โอ แห่ง โค ศัพท์ เป็น อ). ต เมว อุตฺตมตฺตา อุคฺคตฺถนํ. แปลว่า เครื่อง ประดับหน้า, เครื่องประดับหน้าผาก, เครื่องประดับไหล่ บ้าง.
  26. อุคฺคาร : (ปุ.) การเรอ, การราก, การอาเจียน, การอ้วก (กิริยาที่สำรอกอาหารออกจาก ปาก). วิ. อุคฺคุณาติ อุคฺคมติ อุทฺธํคม วาต วูฬฺหวเสนาติ อุคฺคาโร. อุปุพฺโพ, คุ, อุคฺคเม, โณ. อถวา, คิรฺ นิคิรเณ, อ, อิสฺสา (แปลง อิ เป็น อา).
  27. อุจฺจ : (วิ.) สูง, ระหง (สูงโปร่ง สูงสะโอดสะอง), เขิน (สูง). วิ. อุจิโนตีติ อุจฺโจ. อุปุพฺโพ, จิ จเย, อ. แปลง อิ เป็น ย รวมเป็น จฺย แปลง จฺย เป็น จฺจ ส. อุจฺจ.
  28. อุจฺฉงฺค : (ปุ.) ตัก, พก, เอว, สะเอว, ชายพก, รั้งผ้า. วิ. อุสฺสชติ เอตฺถาติ อุจฺฉงฺโค. อุปุพฺโพ, สญฺช สงฺเค, อ, สสฺส โฉ, ทฺวิตตํ (แปลง ฉ เป็น จฺฉ) และ แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็นนิคคหิตแล้ว แปลงเป็น งฺ.
  29. อุชฺฌายน : (นปุ.) การเพ่งโทษ, ฯลฯ, ความเพ่งโทษ, ฯลฯ. แปลง เอ ที่ เฌ เป็น อาย.
  30. อุฑุ : (นปุ.) น้ำ. อุทิ ปสวนกฺลทเนสุ, อุ. แปลง ท เป็น ฑ. ส. อุฑุ.
  31. อุณฺณต : (นปุ.) เครื่องประดับหน้าผาก. อุปุพฺโพ, นมุ นมเน, โต. ลบที่สุดธาตุ แปลง น เป็น ณ ซ้อน ณฺ เป็น อุนฺนต บ้าง. ฏีกาอภิฯ แก้เป็น สุวณฺณาทิรจิตํ นลาฏา ภรณํ.
  32. อุณฺหคู อุณฺหสิ : (ปุ.) พระอาทิตย์ วิ. อุณฺหา คาโว รสฺมิโย เอตสฺสาติ อุณฺหคู, แปลง โอ แห่ง โค เป็น อู. อุณฺหา รํสิโย เอตสฺสาติ อุณฺหสิ. ลบ รํ.
  33. อุณฺหีส : (ปุ. นปุ.) เครื่องประดับหน้า, วงหน้า, กรอบหน้า, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ รูปมงกุฏอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า), มงกุฎ พระมงกุฎ ชื่อเครื่องราชกกุธภัณฑ์อย่างที่ ๑ ใน ๕ อย่าง ; ผ้าโพก, หัวบันได, ราว บันได. อุปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, อีโส, วณฺณวิกาโร (เปลี่ยนอักษรคือ แปลง น เป็น ณ). เป็น อุณฺหิส บ้าง. ส. อุษฺณีษ.
  34. อุตฺตมณฺณ : (ปุ.) เจ้าหนี้. วิ. อิเณ อุตฺตโม อุตฺตมณฺโณ. อิสฺสตฺตํ, ทฺวิตฺตญฺจ. แปลง อิ เป็น อ แล้วแปลง ณ เป็น ณฺณ.
  35. อุตฺตราสค อุตฺตราสงฺค : (ปุ.) ผ้าอันคล้องอยู่ เหนืออวัยวะด้านซ้าย, ผ้าอันคล้องอยู่ที่ ส่วนแห่งกายด้านซ้าย, ผ้าคล้องไว้บนบ่า เบื้องซ้าย, ผ้าห่ม (คือจีวรในภาษาไทย). วิ. อุตฺตรสฺมึ เทหภาเค อาสชฺชเตติ อุตฺตราสํโค อุตฺตราสงฺโค วา. อุตฺตร อา บทหน้า สญฺชฺ ธาตุในความคล้อง อ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็นนิคคหิต ศัพท์ หลังแปลงนิคคหิตเป็น งฺ.
  36. อุตฺติ : (อิต.) ถ้อยคำ. วิ. วุจฺจเตติ อุตฺติ. วจฺ ธาตุ ติ ปัจ. แปลง ว เป็น อุ จฺ เป็น ตฺ รูปฯ ๖๑๓.
  37. อุตุ : (ปุ. อิต.) คราว, ฤดู. วิ. ปุนปฺปุนํ เอนฺตีติ อุตุโย. อิ คมเน, ตุ, อิสฺส อุ (แปลง อิ เป็น อุ). ตํ ตํ สตตกิจฺจํ อรติ วตฺเตตีติ อุตุ. อร. คมเน, ตุ. แปลง อรฺ เป็น อุ. ส. ฤตุ.
  38. อุทคฺค : (วิ.) สูง, บันเทิง, บันเทิงใจ, เบิกบาน ใจ, ดีใจ, ปลื้มใจ, มีกายและจิตไปใน เบื้องบน, มีผลในเบื้องบน. อุท+อคฺค. อุท คือ ความยินดี, ฯลฯ. เป็น อุทฺทคฺค โดยลง ทฺ อาคม บ้าง.
  39. อุทฺทโลมี : (ปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์มีชายสอง ข้าง. วิ. อุทิตํ ทฺวีสุ โลมํ ทสา ยสฺสา สา อุทฺทโลมี. อิสฺสตฺตํ, ทฺวิตฺตํ. เป็น อุทฺทโลมิ อุทฺธโลมี บ้าง.
  40. อุทฺธจฺจ : (นปุ.) ความฟุ้งซ่าน, ความคิดพล่าน, อุทธัจจะ (ความคิดพล่านไปในอารมณ์ ต่าง ๆ อย่างเผลอตัว). วิ. อุทฺธํ หนตีติ อุทฺธโต. อุทิธํปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, โต, หนสฺส โธ (แปลง หน เป็น ธ), อสรูปทฺวิตตํ (แปลง ธ เป็น ทฺธ และ ลบ ทฺธํ ที่บทหน้า). อุทฺธตสฺส ภาโว อุทฺธจฺจํ. ณฺย ปัจ. กัจฯ และ รูปฯ ลง ย ปัจ.
  41. อุทฺธรณ : (นปุ.) การยกขึ้น, การรื้อขึ้น, ความยกขึ้น, ความรื้อขึ้น. ไทยใช้คำ อุทธรณ์ หมายถึงการฟ้องร้องต่อศาลที่สอง (ศาล อุทธรณ์) เพื่อขอร้องให้ศาลรื้อฟื้นเรื่องขึ้น พิจารณาและตัดสินใหม่. อุปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, ยุ. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ. ส. อุทฺธรณ.
  42. อุทธิ : (ปุ.) ประเทศผู้ทรงไว้ซึ่งน้ำ, ส่วนแห่ง แผ่นดินที่ทรงไว้ซึ่งน้ำ, ทะเล. อุทกปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ, อุทกสฺส อุโท (แปลง อุทก เป็น อุท). ถ้าใช้ อุท เป็นบทหน้า ก็ไม่ ต้องแปลง.
  43. อุทยพฺพย : (นปุ.) ความตั้งขึ้นและความเสื่อม ไป, ความเกิดและความดับ. อุทย+วย แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ.
  44. อุทริย : (วิ.) มีในท้อง วิ. อุทเร ภวํ อุทริยํ. อิย ปัจ. เป็น อุทรีย โดยลง อีย ปัจ. บ้าง.
  45. อุทหารก : (วิ.) ผู้ขุดร่องน้ำ, ผู้นำน้ำไป, ผู้นำ น้ำไปด้วยเหมือง. อุทกปุพฺโพ, อุทปุพฺโพ วา, หรฺ หรเณ, ณฺวุ. ถ้าตั้งอุทก เป็น บทหน้า พึงลบ ก.
  46. อุทาน : (นปุ.) การเปล่ง, คำเปล่ง, คำที่เปล่ง ขึ้นทันที. อุปุพฺโพ, อิ อุจฺจารเณ, ยุ, ทฺ อาคโม, แปลง อิ เป็น อา.
  47. อุทาสีน : (วิ.) เป็นกลาง (ไม่เข้าข้างฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง), นั่งอยู่นอกพวก, นั่งนอกพวก. อุ อา บทหน้า สี ธาตุ อาน ปัจ. แปลง อาน เป็น อีน. ส. อุทาสีน.
  48. อุเทฺรก : (ปุ.) การราก, การเรอ, การอ้วก. วิ. อุทฺธํ เทกติ คนฺตุ มุสฺสหตีติ อุเทฺรโก. อุทธํปุพฺโพ, เทกิ สทฺเท, โณ, ทการสฺส โร. เป็น อุทฺเทก บ้าง.
  49. อุปกฺขร : (ปุ.) เพลา, เพลารถ. วิ. อุปริ กรียเตติ อุปกฺขโร. อ ปัจ. แปลง กร เป็น ขร ซ้อน กฺ.
  50. อุปฆาต : (ปุ.) การเข้าไปกระทบ, การเข้าไป ทำร้าย, การเข้าไปเบียดเบียน, การเข้าไป ฆ่า, วิ. อุปหนตีติ อุปฆาโต. อุปปุพฺโพ, หนฺ หีสายํ, โณ, หนสฺส ฆาโต. แปลง ต เป็นเป็น อุปฆาฏ บ้าง.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | [1201-1250] | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4363

(0.1304 sec)