Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นประจำ, ประจำ, เป็น , then ปน, ประจำ, เป็น, เป็นประจำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นประจำ, 4363 found, display 1601-1650
  1. ขตฺติยา : (อิต.) นางกษัตริย์, หญิงผู้เป็นพระเจ้าแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดินผู้หญิง. วิ. ขตฺติยสฺส อปจฺจํ ขตฺติยา. ณ ปัจ. อา อิต.
  2. ขนฺธาวาร : (ปุ.) สถานที่เป็นที่กั้นด้วยท่อนไม้, ประเทศล้อมโดยรอบด้วยสิ่งทั้งหลายมีท่อน ไม้เป็นต้น, ทั้พรั้ง (การระวังรักษาทัพ), กองทัพ, ทัพไชย, ค่าย. วิ. ทารุกฺ ขนฺธาทีหิ อา สมนฺตโต วรนฺติ ปริกฺขิปนฺติ เอตฺถาติ ขนฺธาวาโร. ขนฺธ อา ปุพฺโพ, วรฺ อาวรณอจฉาทเนสุ, โณ.
  3. ขม : (ปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  4. ขมน : (นปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  5. ขมา : (อิต.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  6. ขลคฺค : (นปุ.) ทานอันเลิศอันบุคคลพึงให้ใน กาลเป็นที่นำมาซึ่งฟ่อนข้าวสู่ลาน.
  7. ขลภณฺฑกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่ทำซึ่งลอมในลาน, กาลเป็นที่กระทำซึ่งข้าวเป็นต้นให้เป็นลอม ในลาน. ลอม คือ การตะล่อมของให้สูง ขึ้นเป็นจอม.
  8. ขลฺลาฏสีส : (นปุ.) ศรีษะแห่งบุคคลผู้เป็นไป ด้วยความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่ง ศรีษะเปล่า, ศรีษะของคนหัวล้าน.
  9. ขลฺลาฏิย : นป. ความเป็นผู้หัวล้าน
  10. ขาทก : ค. ผู้กิน, ผู้อาศัย (อาหาร) เป็นอยู่
  11. ขาทิตตฺต : นป. ความเป็นสิ่งอันเขาเคี้ยวกินแล้ว, การถูกเคี้ยวกินแล้ว
  12. ขายน : (วิ.) ประกาศ, แสดง, ปรากฏ. ขา ปกาสเน. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. นามกิตก์.
  13. ขาริ ขารี : (อิต.) ขารี ชื่อมาตราตวง ๔ มาณิ- กาเป็น ๑ ขารี วิ. จตุสฺสนฺนํ มาณิกานํ สฺมูโห ขารี นาม. แปลว่า สาแหรก ก็มี.
  14. ขิปนาวุธ : (นปุ.) อาวุธอันพุ่งไป, ขีปนาวุธ ชื่ออาวุธที่ใช้แรงอัดให้พุ่งไป เป็นอาวุธที่ มีการบังคับวิถีให้ไปตามทิศทางที่ต้องการ.
  15. ขีรมุข : (วิ.) มีปากเป็นไปด้วยกลิ่นแห่ง น้ำนม, มีปากยังไม่หมดกลิ่นน้ำนม, มีปากยังไม่สิ้นกลิ่นน้ำนม. วิ. ขีรคนฺธิกํ มุขํ ยสฺส โส ขีรมุโข.
  16. ขุทฺทานุขุทฺทก : (นปุ.) วัตรน้อย และวัตรน้อย- โดยลำดับ, วัตรน้อยและวัตรใหญ่ (จูฬวตฺ- ตมหาวตฺต) วัตรปฏิบัติน้อยใหญ่, วัตร ปฏิบัติอันเป็นขนบธรรมเนียมอันดีงาม.
  17. ขุรคฺค : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่งกรรมอัน บุคคลพึงทำด้วยมีดโกน (ปลงผมเสร็จ), ขณะโกนผมเสร็จ, ขณะปลงผมเสร็จ. วิ. ขุเรน กตฺตพฺพกมฺมสฺส อคฺโค ขุรคฺโค.
  18. เขฏก : (นปุ.) โล่ (เครื่องป้องกันศัตราวุธ), ดั้ง (เครื่องมือสำหรับป้องกันอาวุธ รูป คล้ายกาบกล้วย), เขน (เครื่องมือสำหรับ ป้องกันอาวุธ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า), แพน (สิ่งที่มีลักษณะเป็นแผ่น สำหรับคัดท้าย แพและซุง เป็นต้น). เขฏฺ ภกฺขเณ, ณฺวุ.
  19. เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
  20. เขตฺตวตฺถุ : (นปุ.) ที่นาและที่เป็นที่อยู่.
  21. เขท : (ปุ.) ความลำบาก, ความเหน็ดเหนื่อย, ความเป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โณ.
  22. เขม : (วิ.) ดี, งาม, เจริญ, ประเสริฐ, สบาย, สบายใจ, ปลอด, ปลอดภัย, ปลอดโปร่ง, สำราญ, เป็นมงคล, เกษม. วิ. ขียเตตฺถ อสุภนฺติ เขมํ. ขี ขเย, โม.
  23. เขมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอันเกษม วิ. เขมํ จรตีติ เขมจารี, ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอัน อันเกษมโดยปกติ วิ. เขมํ จรติ สีเลนาติ เขมจารี. ผู้มีความประพฤติซึ่งธรรมอัน เกษมเป็นปกติ. ผู้มีปกติประพฤติซึ่งธรรม อันเกษม วิ. เขมสฺส จรณสีโลติ เขมจารี.
  24. เขฬสิก, เขฬากปฺป : ค. ผู้กลืนกินน้ำลาย (เป็นคำที่หยาบคายหรือใส่โทษ), ผู้ติดในลาภสักการะ
  25. : (วิ.) ไป, ถึง, เป็นไป, นำไป. คมฺ คติยํ, กฺวิ, โร วา.
  26. คคฺครี : (อิต.) ภาชนวิกัติสำหรับคนนมให้เป็น เนย วิ. คคฺค อิติ สทฺทํ ราตีติ คคฺครี. คคฺคปุพฺโพ, รา อาทาเน, อี.
  27. คคเนจร : (ปุ.) ดาว, ผีฟ้า, แกงได คือรอยกากบาทหรือขีดเขียนซึ่งคนไม่รู้หนังสือ ขีดเขียนไว้เป็นสำคัญ.
  28. คชาชีว : (ปุ.) คนผู้เป็นอยู่ด้วยการเลี้ยงช้าง, คนเลี้ยงช้าง, หมอช้าง, ควาญช้าง.
  29. คณฺฐิปาท : นป. คำที่เป็นดุจปม, คำพูดที่มีเงื่อนงำ, คำพูดที่คลุมเครือ
  30. คณฺฑมฺพ : ป. ต้นคัณฑามพพฤกษ์, ต้นมะม่วงชนิดหนึ่งเป็นที่ซึ่งพระโคตมพุทธเจ้าได้ทรงกระทำยมกปาฏิหาริย์
  31. คณฺฑี : ๑. อิต. ระฆัง; ๒. ค. มีฝี, เป็นฝี
  32. คณพนฺธน : นป. ความผูกพันกันเป็นหมู่, การร่วมมือกัน
  33. คณโภชน : (นปุ.) โภชนะเป็นคณะ, การฉันเป็น หมู่. ภิกษุตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปรับนิมนต์ ออกชื่อโภชนะ คือทายกทายิกา นิมนต์ โดยออกชื่ออาหาร เช่นกล่าวว่า นิมนต์ฉันแกงไก่ แล้วภิกษุไปฉัน เรียกว่าคณะโภชนะ (ฉันเป็นคณะ). โภชนวรรคสิกขาบทที่ ๒ ไตร. ๒/๓๑๓.
  34. คณฺหณ คณฺหน : (วิ.) ควรถือเอา, ควรเรียน, คหฺธาตุ ณฺหา ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. ลบที่สุด ธาตุ.
  35. คณารามตา : อิต. ความเป็นผู้ยินดีในหมู่คณะ
  36. คณี : (ปุ.) คณีใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า แปลว่าทรงมีคณะคือหมู่แห่งพระสงฆ์.
  37. คเณส : (ปุ.) พระคเณส พระคเณศ ชื่อเทพ องค์หนึ่งมีเศียรเป็นช้างเป็นเทพแห่งศิลปะ วิฆเนศ พิฆเนศ คเณศ พิฆเนศวร วิฆเนศวร ก็เรียก.
  38. คต : (นปุ.) การเดิน, การไป, ความไป, ความเป็นไป. คมฺ คติยํ, โต, มฺโลโป ต ปัจ. ลง ในภาวะ.
  39. คตตฺต : นป. ความเป็นแห่ง....ผู้ไปแล้ว
  40. คติ. : (อิต.) ภพเป็นที่ไปของสัตว์ (มีกามภพ เป็นต้น), ภูมิอันสัตว์พึงไป, ภูมิเป็นที่ไป ของสัตว์. วิ. สุกตทุกฺกตกมฺมวเสน คนฺตพฺ- พาติ คติ. ความหมดจด, ความสละสลวย, ความเป็นอยู่, ความรู้, ความสำเร็จ, ความตกลง(ลงเอย), ที่เป็นที่อยู่, ที่อาศัยแบบ, แบบอย่าง, ลักษณะ, กำเนิด, ความเกิด, คดี (เรื่อง ความที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), การส่ง, การไป, การเป็นไป, การดำเนิน, การดำเนินไป, การไป, การเคลื่อน, การถึง, การบรรลุ, ทาง, ทางไป, ทางดำเนิน, ทาง ดำเนินไป, อัชฌาสัย. วิ. คมนํ คติ. ส. คติ.
  41. คติเวกลฺล : (วิ.) ขาดแคลนการไป, ไปลำบาก, เป็นง่อย, เป็นกระจอก, เขยก.
  42. คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
  43. คนฺธกุฏิ : อิต. คันธกุฎี, กระท่อมที่อยู่อาศัยของบรรพชิต (โดยเฉพาะเป็นที่ประทับอยู่อาศัยของพระพุทธเจ้า)
  44. คนฺธกุฏี : (อิต.) กุฏีอบแล้วด้วยของหอมอันเป็น ทิพย์ วิ. ทิพฺพคนฺเธหิ ปริภาวิตา กุฏี คนฺธกุฏี. พระคันธกุฎี กุฎิที่พระพุทธเจ้า ประทับ วิ. ชินสฺส วาสภูตํ ภวนํ คนฺธกุฎี นาม.
  45. คนฺธธาร : (ปุ.) คันธาระ ชื่อชนบทพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. คํ ปฐวึ ธาเรนฺตีติ คนฺธารา. กิตฺติคนฺเธน อรนฺตีติ วา คนฺธารา. เป็นชื่อของสระน้ำด้วย.
  46. คนฺธพฺพาธิป : (ปุ.) คันธัพพาธิปะ ชื่อผู้เป็น ใหญ่ในคนธรรพ์ ชื่อท้าวโลกบาลทิศ ตะวันออก, ท้าวธตรฐ. วิ. ปญฺจสิขาทีนํ คนฺธพฺพานํ อธิโป นายโก คนฺธพฺพาธิโป.
  47. คนฺธรส : (ปุ.) รสแห่งของหอม, รสหอม, มด ยอบ ชื่อยางไม่ชนิดหนึ่งมีกลิ่นหอม ใช้ เป็นเครื่องยาและอบกลิ่น.
  48. คนฺธารกาสาววตฺถ : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยน้ำฝาดอันบังเกิดแล้วในเมืองคันธาระ. เป็นวิเสสนปุพ. กัม มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. และ ส. ตัป. เป็นภายใน.
  49. คนฺธิก : (วิ.) มีกลิ่น. วิ. คนฺโธ อสฺส อตฺถีติ คนฺธิโก. อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โมคฯ ลง ณิก ปัจ. ผู้มีของหอมเป็นสินค้า วิ. คนฺโธ อสฺส ภณฺฑนติ คนฺธิโก. ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท.
  50. คพฺภเสยฺยก : ค. คัพภเสยยกสัตว์, ผู้เกิดในครรภ์, ผู้เกิดมาเป็นตัว
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | [1601-1650] | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4363

(0.2033 sec)