Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นประจำ, ประจำ, เป็น , then ปน, ประจำ, เป็น, เป็นประจำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นประจำ, 4363 found, display 1851-1900
  1. ชณฺณุตคฺฆ : (วิ.) มีเข่าเป็นประมาณ ชณฺณุ + ตคฺฆ.
  2. ชนฺตาฆร : (นปุ.) เรือนเป็นที่รักษาซึ่งชน ผู้ ผจญซึ่งไพรีคือโรค, เรือนไฟ โรงไฟ (ห้องสำหรับรมไฟเพื่อให้เหงื่อออก). วิ. ชนฺตา เอว ฆรํ ชนฺตาฆรํ.
  3. ชนปทปเทส : ป. ถิ่นที่อันเป็นชนบท, ส่วนชนบท
  4. ชนปเทส : (ปุ.) คนเป็นใหญ่ในชนบท, จอมชนบท, เจ้าเมือง วิ. ชนปเท อีโส ชนปเทโส.
  5. ชนปาโมกฺข : ค. ผู้เป็นประธานหรือหัวหน้าของกลุ่มชน
  6. ชนาธิป : (ปุ.) คนผู้เป็นใหญ่แห่งชน, คนผู้เป็น จอมแห่งชน, พระผู้เป็นจอมแห่งชน, พระ จอมประชาชน, พระราชาผู้เป็นใหญ่แห่ง ชน, พระเจ้าแผ่นดิน, พระราชา. วิ. อธิ – ปาตีติ อธิโป. อธิปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, โร. ชนานํ อธิโป ราชา ชนาธิโป.
  7. ชนินฺท : (วิ.) ผู้เป็นใหญ่ในชน, ผู้เป็นใหญ่ใน หมู่ชน, ผู้เป็นจอมแห่งชน, ผู้เป็นจอมแห่ง หมู่ชน.
  8. ชโนสภ : ป. ผู้นำหมู่ชน, ผู้เป็นใหญ่ในหมู่ชน
  9. ชปฺปิตตฺต : (นปุ.) ความที่แห่งจิตเป็นจิตเหนี่ยว รั้ง, ความที่จิตเหนี่ยวรั้ง.
  10. ชมฺพาลี : ๑. อิต. บ่อโสโครก, บ่อที่สกปรก; ๒. ค. ซึ่งมีเปือกตม, อันเป็นโคลนตม
  11. ชยปาน : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงดื่มในการเป็น ที่ชนะข้าศึก, น้ำดื่มของทหารผู้ชนะ สงคราม, ชัยบาน.
  12. ชร : (วิ.) แก่, คร่ำคร่า, ชำรุด, ทรุดโทรม, เป็นไข้, เจ็บไข้, เป็นโรค. ชรฺ วโยหานิ – โรเคสุ, อ. รูปฯ ลง ณ ปัจ. ไม่ทีฆะ, ส. ชรณ, ชรินฺ.
  13. ชรกาล : (ปุ.) กาลแห่ง...เป็นคนแก่, ฯลฯ.
  14. ชรตา : (อิต.) ความแก่, ฯลฯ. วิ. ชิยฺยนฺติ วุทฺธา ภวนฺติ อสฺสนฺติ ชรา. ชรา เอว ชรตา. ตาปัจ. สกัด. ความเป็นแห่งคนแก่. ตาปัจ, ภาวตัท.
  15. ชราชิณฺณมหลฺลก : (วิ.) ผู้ถือเอาซึ่งความเป็น แห่งคนแก่อันความชราให้คร่ำคร่าแล้ว, ผู้ แก่เพราะอันความชราให้คร่ำคร่าแล้ว.
  16. ชราธมฺม : ค. มีความแก่หรือคร่ำคร่าเป็นธรรมดา
  17. ชราพฺยาธิมรณมิสฺสตา : (อิต.) ความที่แห่ง ชาตินั้นเป็นชาติเจือด้วยชราและพยาธิและ มรณะ, ความที่แห่งชาตินั้นเป็นของมีชรา และพยาธิและมรณะเจือปน.
  18. ชราสิถิลชมฺม : (นปุ.) หนังย่นในเพราะชรา เป็นเหตุ.
  19. ชล : (วิ.) โพลง, ลุกโพลง, รุ่งเรือง, สว่าง, ส่องสว่าง, แหลม, คม, เจริญ, มั่งคั่ง, มั่งมี, เป็นสิริ, ดี, เลิศ, ชลฺ ทิตฺติธญฺเญสุ, อ.
  20. ชลช : (วิ.) เกิดในน้ำ วิ . ชเล ชาโต ชลโช. กฺวิปัจ. หรือว่าเป็น ส.ตัป. ก็ได้ รูปฯ ๕๗๐ ส. ชลช.
  21. ชลธิ : (วิ.) เป็นที่ทรงอยู่แห่งน้ำ วิ. ชลํ ธียเต อสฺมินฺติ ชลธิ. ชล+ธา+อิ ปัจ.
  22. ชวน : (วิ.) เดินเร็ว, แล่นไป, เป็นที่แล่นไป, ฯลฯ.
  23. ชฬตฺต : (นปุ.) ความที่แห่ง...เป็นคนเขลา, ฯลฯ, ความเป็นแห่งคนเขลา, ฯลฯ.
  24. ชาณุปฺปมาณ ชานุปฺปมาน : (วิ.) มีเข่าเป็น. ประมาณ, ประมาณเข่า.
  25. ชาตตฺต : นป. ความเป็นแห่งผู้เกิดแล้ว, การเกิด
  26. ชาติวิภงฺค : ป. ความแตกต่างกันแห่งชาติสกุล, ลักษณะพิเศษประจำชาติ
  27. ชาติวีณา : อิต. พิณที่มีมาแต่เกิด, พิณคู่มือ, พิณประจำสกุล
  28. ชานนก : (วิ.) ผู้รู้. ณวุ ปัจ แปลงเป็น อานนก. รูปฯ ๕๕๖.
  29. ชายตฺตน : นป. ความเป็นเมีย, ความเป็นภริยา
  30. ชารตฺตน : นป. ความเป็นชู้, ความมีชู้, ความคบชู้
  31. ชิฆจฺฉาปรม : (วิ.) มีความหิวเป็นอย่างยอด.
  32. ชิณฺณพฺยาธิมตสงฺขาต : (วิ.) อันบัณฑิตนับ พร้อมแล้วว่าชนผู้แก่แล้วและชนผู้เป็น พยาธิและชนผู้ตายแล้ว.
  33. ชิเนนฺท : (ปุ.) พระพุทธเจ้า (เป็นจอมแห่งความชนะ).
  34. ชีรณตา : อิต. ความเป็นคืออันชรา, ความชรา, ความเก่าแก่, ความคร่ำคร่า, ความเสื่อม, ความทุพพลภาพ
  35. ชีว : (ปุ.) อาตมะ, อาตมัน, พระพฤหัสบดี, สัตว์, ชน, คน, ความเป็นอยู่, ความมีชีวิต อยู่, ความเกิด, ชีพ (ความเป็นอยู่). ชีวฺ ปาณธารเณ, อ. ส. ชีว.
  36. ชีวก : ๑. ป. เทียนขาว, กะเม็ง ; ๒. ค. ผู้เป็นอยู่
  37. ชีวคาห : (วิ.) จับเป็น.
  38. ชีวติ : ก. เป็นอยู่, มีชีวิตอยู่
  39. ชีวน : (นปุ.) น้ำ, ความเป็นอยู่, ความเลี้ยง ชีวิต, การเลี้ยงชีวิต. ชีวฺ+ยุ ปัจ. ส. ชีวน.
  40. ชีวนมตฺต : (วิ.) สักว่าเป็นเครื่องเป็นอยู่.
  41. ชีวโลก : (ปุ.) โลกของสัตว์เป็น, โลกของสัตว์.
  42. ชีวิกา : (อิต.) ความเป็น, ความเป็นอยู่, ความมีชีวิตอยู่. การเลี้ยงชีวิต ( มีกสิกรรมเป็น ต้น ). ชีวฺ+ณฺวุ ปัจ. อิอาคม อาอิต.
  43. ชีวิต : (นปุ.) ความเป็น, ความเป็นอยู่, อายุ, ชีวิต, ชีวัน, ชีวิตินทรีย์. ชีวฺ+ตปัจ.อิอาคม.
  44. ชีวิตทาน : นป. การให้ชีวิตเป็นทาน, การสละชีวิตเป็นทาน
  45. ชีวิตปจฺจย : (ปุ.) เครื่องอาศัยเป็นไปของชีวิต, ปัจจัยของชีวิต.
  46. ชีวิตปริกฺขาร : ป. บริขารแห่งชีวิต, สิ่งที่จำเป็นแก่ชีวิต, สิ่งที่ชีวิตต้องอาศัยเป็นอยู่
  47. ชีวิตปริโยสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงรอบแห่ง ชีวิต, การสิ้นสุดชีวิต, ความสิ้นสุดชีวิต.
  48. ชีวิตรูป : ค. ผู้เป็นอยู่, ผู้มีชีวิตอยู่
  49. ชีวิตวุตฺติ : อิต. ความเป็นไปแห่งชีวิต, ความเป็นอยู่, การดำรงชีพ
  50. ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | [1851-1900] | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4363

(0.1565 sec)