Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นประจำ, ประจำ, เป็น , then ปน, ประจำ, เป็น, เป็นประจำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นประจำ, 4363 found, display 2151-2200
  1. ทีปงฺกร : (วิ.) ผู้ทำซึ่งที่พึ่ง วิ. ทีปํ กโรตีติ ทีปงฺกโร. ทีปปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ. ลง นุ อาคมในท่ามกลาง แล้วแปลงเป็นนิคคหิต แล้วแปลงนิคคหิตเป็น งฺ รูปฯ ๕๔๙.
  2. ทุกฺกรตา : อิต., ทุกฺกรตฺต นป. ความเป็นสิ่งที่ทำได้ยาก
  3. ทุกฺขกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งทุกข์, ธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งทุกข์, พระนิพพาน
  4. ทุกฺขตา : อิต., ทุกฺขตฺต นป. ความเป็นสิ่งที่ทนได้ยาก, ความเป็นทุกข์, ความเป็นสิ่งที่นำมาซึ่งทุกข์
  5. ทุกฺขติ : ก. เป็นทุกข์, ลำบาก
  6. ทุกฺขธมฺม : ป. ภาวะที่มีความทุกข์เป็นธรรมดา, ความทุกข์
  7. ทุกฺขปริชานนาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจมีอัน กำหนดรู้ซึ่งทุกข์เป็นต้น. เป็นวิเสสนบุพ. กัม. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นภายใน.
  8. ทุกฺขภุมฺมิ, - ภูมิ : อิต. ทุกขภูมิ, ภูมิจิตอันเป็นที่เกิดแห่งทุกข์
  9. ทุกฺขวิปาก : ค. มีวิบากเป็นทุกข์, มีทุกข์เป็นผล
  10. ทุกฺขเวทนา : (อิต.) ความเสวยอารมณ์อันเป็น ทุกข์, ความรู้สึกลำบาก, ไทยใช้ทุกขเวทนาในความว่ารู้สึกลำบาก รู้สึกเจ็บปวด.
  11. ทุกฺขสจฺจ : นป. ความจริงคือทุกข์, สิ่งที่เป็นทุกข์จริง, ความจริงแห่งทุกข์
  12. ทุกฺขสญฺญา : อิต. ความหมายรู้ว่าเป็นทุกข์, ความสำคัญว่าเป็นทุกข์
  13. ทุกฺขสมฺผสฺส : ค. มีสัมผัสเป็นทุกข์
  14. ทุกฺขสมฺผสฺสตา : อิต. ความเป็นสิ่งมีสัมผัสเป็นทุกข์
  15. ทุกฺขเสยฺยา : อิต. การนอนอันเป็นทุกข์, การนอนไม่สบาย
  16. ทุกฺขาปิต : กิต. (อันเขา) ทำให้เป็นทุกข์, อันก่อทุกข์ให้
  17. ทุกฺขาเปติ : ก. ทำให้เป็นทุกข์, ก่อทุกข์ให้
  18. ทุกฺขิต : (วิ.) ผู้ลำบาก วิ. ทุกฺขตีติ ทุกฺโข. ทุกฺขฺ ทุกฺเข, อิโต. ผู้มีความลำบากเกิดพร้อมแล้ว, ผู้มีความลำบากทุกประการ. วิ. ทุกขํ สํชาตํ เอตสฺสาติ ทุกฺขิโต. ผู้มีความลำบาก วิ. ทุกฺขํ อสฺส อตฺถีติ ทุกฺขิโต. ผู้เป็นไปแล้วโดย ความลำบาก, ผู้เป็นไปด้วยความยาก. วิ. ทุกเขน อิโตติ ทุกฺขิโต. ทุกฺข+อิตศัพท์.
  19. ทุกฺขี : ค. ผู้มีทุกข์, ผู้เป็นทุกข์
  20. ทุกฺขียติ : ก. เป็นทุกข์; ลำบาก, คับแค้น
  21. ทุกฺขุทฺรย : ค. มีทุกข์เป็นกำไร, มีผลลัพธ์เป็นทุกข์
  22. ทุกฺวิปาก : (วิ.) มีทุกข์เป็นผล, มีทุกข์เป็นวิบาก.
  23. ทุคฺคติปรายน : (วิ.) ผู้มีทุคคติเป็นที่ไปในเบื้องหน้า.
  24. ทุคคสญฺจาร : (ปุ.) การเดินทงไปในที่อัน...ได้โดยยาก วิ. ทุคคสฺส สญฺจาโร.ทุคคสญฺจาโร, หักฉัฎฐีเป็นสัตตมี. ส. ทุรฺคสํจาร ทุรฺคสญฺจาร.
  25. ทุชฺชีว : (ปุ. นปุ.) ความเป็นอยู่ยาก,ความเป็นอยู่ลำบาก,ชีวิตยากแค้น.
  26. ทุชฺชีวิต : (นปุ.) ความเป็นอยู่ยาก,ความเป็นอยู่ลำบาก,ชีวิตยากแค้น.
  27. ทุฎฺฐุลฺล : (วิ.) ชั่ว, ร้าย, ลามก, หยาบ, ชั่ว หยาบ, หยาบช้า, ชั่วช้า, ตลกคะนอง. วิ. ทุฎฺฐุ นิสฺสิตํ ทุฎฺฐุลฺลํ. ทุฎฺฐุ ฐานํ วา ทุฏฺฐุลฺลํ. ล ปัจ. แปลงเป็น ลฺล นิสสิตตัท. รูปฯ ๓๖๘.
  28. ทุฏฺฐคหณิก : ค. ผู้เป็นโรคพรรดึก, ผู้เป็นโรคท้องผูก, ผู้เป็นโรคอาหารไม่ย่อย
  29. ทุติย, - ยก : ค., ป. ที่สอง, ซึ่งมีเป็นที่สอง; สหาย, เพื่อน, คนติดตาม
  30. ทุติยฺยาตา : อิต. ความเป็นผู้เป็นที่สอง, ความเป็นสหาย, ความเกื้อกูลกัน
  31. ทุติยา : (อิต.) ภรรยา, ภริยา, เมีย, ความเป็น เพื่อน.
  32. ทุพฺพลตฺต : นป., ทุพฺพลตา อิต. ความเป็นผู้มีกำลังทราม, ความมีกำลังน้อย, ความอ่อนแอ
  33. ทุพฺพลภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง...ผู้มีกำลัง อันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ, ความเป็นคนทุรพล, ความเป็นผู้ทุรพล. วิ.ทุพฺพลสฺส ภาโว ทุพฺพลภาโว. ไทยใช้คำทุพพลภาพ ในความว่า ไม่มีกำลังที่จะประกอบการงาน ความเสื่อมถอยกำลัง อ่อนเพลียไม่สมประกอบ.
  34. ทุพฺพลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่ง...ผู้มีกำลังอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ. วิ. ทุพฺพลสฺส ภาโว ทุพฺพลฺยํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท.
  35. ทุพฺภร : ค. ซึ่งเลี้ยงได้ยาก, ซึ่งเป็นคนเลี้ยงยาก, ซึ่งปฏิบัติตนให้คนอื่นบำรุงเลี้ยงได้ยาก
  36. ทุพฺภรตา : อิต. ความเป็นคนเลี้ยงยาก
  37. ทุพฺภาสิต : (นปุ.) คำอันเป็นทุพภาษิต.
  38. ทุพฺภิกฺขนฺตรกปฺป : (ปุ.) กัปของระหว่างมี ภิษาอัน...ได้โดยยาก. ทุพภิกขันตรกัป คือระยะเวลาที่กำหนดไว้ว่าเป็นตอนที่ ขาดแคลนอาหาร.
  39. ทุมฺเมชฺฌ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีปัญญาอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ.ทุมฺเมธ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท.
  40. ทุมฺเมธี : (วิ.) มีปัญญาเป็นเครื่องจำกัดซึ่ง กิเลสชั่ว, มีปัญญาเป็นเครื่องกำจัดเสียซึ่งกิเลสชั่ว. ทุกิเลส+เมธี.
  41. ทุมาสิก : ค. (ผม) ซึ่งงอกขึ้นมาเป็นเวลาสองเดือน
  42. ทุรปฺปพฺพชฺช : (นปุ.) การบวชเป็นของยาก, บวชเป็นของยาก. ทุเป บทหน้า วชฺธาตุ ณฺย ปัจ. ลง รฺ และ อ อาคมหลัง ทุ ซ้อน ปุ.
  43. ทุวจ : (วิ.) ผู้อัน...ว่าได้โดยยาก (ว่ายากสอน ยาก). ทุกฺข+วจฺ ธาตุ อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ข ปัจ. ลบ กฺข. ผู้มีวาจาอันโทษประทุษร้ายแล้ว ทุฏฺฐ+วจ. ผู้มีถ้อยคำชั่ว ผู้มีถ้อยคำหยาบ ทุ + วจ หรือ ทุฏฺฐ+วจ.
  44. ทุสฺส : (นปุ.) ผ้า ( สิ่งที่ทำด้วยเยื่อไม้ ท.) วิ. ทุรูปํ อสตีติ ทุสฺสํ ทุรูปปุพฺโพ. อสฺ เขปเน, โส. ทุรูปํ อสตีติ วา ทุสฺสํ. อสฺ ทิตฺติยํ, โส. หรือ ลง อ ปัจ. ซ้อน สฺ หรือ ทุ คมเน. ส ปัจ. แปลงเป็น สฺส. อภิฯ และฎีกา.
  45. ทุสฺสนีย : ค. ซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งความขัดเคือง, ซึ่งน่าโกรธเคือง
  46. ทุสฺสผล : ค. (ต้นกัลปพฤกษ์) ซึ่งมีผ้าเป็นผล, ซึ่งออกผลเป็นผ้า
  47. ทุสสย : (ปุ.) การนอนเป็นทุกข์.
  48. ทุสฺสย : (วิ.) อัน...ย่อมนอนเป็นทุกข์, นอน เป็นทุกข์. วิ. ทุกฺเขน สียติ ทุสฺสโย. ข ปัจ. รูปฯ ๕๘๙.
  49. ทุสฺสีลฺย ทุสฺสีลย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคล ผู้มีศีลอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ศัพท์หลังไม่ลบ อ ที่สุดศัพท์ หรือลง ย ปัจ.?
  50. ทูเตยฺย : นป. ความเป็นทูต, การส่งข่าวสาร, การสื่อสาร
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | [2151-2200] | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4363

(0.1523 sec)