Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นประจำ, ประจำ, เป็น , then ปน, ประจำ, เป็น, เป็นประจำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นประจำ, 4363 found, display 2251-2300
  1. ธมฺมครุ ธมฺมครุก : (วิ.) เคารพซึ่งธรรม, เคารพในธรรม, หนักในธรรม, มีธรรม เป็นที่เคารพ.
  2. ธมฺมจกฺก : (นปุ.) ธรรมเพียงดังจักร, ล้อคือ ธรรม, ลูกล้อคือธรรม , ธรรมจักร. เรียก พระธรรมเทศนา ซึ่งพระพุทธเจ้าเทศน์ ครั้งแรกว่า พระธรรมจักร เป็นคำเรียก แบบย่อ.
  3. ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตน : (นปุ.) การยังจักรคือ ธรรมให้เป็นไป, การยังจักรคือธรรมให้หมุนไป.
  4. ธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จริยา ธมฺมจริยา. ทุ.ตัป. การประพฤติเป็นธรร,ความประพฤติเป็นธรรม. วิ. ธมฺโม จริยา ธมฺมจริยา. วิเสสนบุพ. กัม. เจตนาเป็นเครื่องประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรติ เอตายาติ ธมฺมจริยา. ญฺย ปัจ. ไม่ทีฆะ อิ อาคม รูปฯ ๖๔๔. การประพฤติธรรมคือการประพฤติปฏิบัติตามกุศลกรรมบท ๑๐.
  5. ธมฺมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรตีติ ธมฺมจารี. ผู้ประพฤติซึ่งธรรมโดยปกติ. วิ. ธมฺมํ จรติ สีเลนาติ ธมฺมจารี. ผู้มีความประพฤติซึ่งธรรมเป็นปกติ วิ. ธมฺมํ จริดฺ สีล มสฺสาติ ธมฺมจารี. ผู้มีปกติ ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จรณสีโลติ ธมฺมจารี. ธมฺมปุพฺโพ, จรฺ จรเณ, ณี.
  6. ธมฺมชาติ : (วิ.) มีตวามเกิดเป็นธรรมดา.
  7. ธมฺมชีวี : (ยิ.) ผู้เป็นอยู่โดยปกติโดยธรรม, ผู้เป็นอยู่ตามธรรมโดยปกติ, ผู้มีปกติเป็น อยู่โดยธรรม, ผู้เป็นโดยอยู่ธรรม, ผู้เป็น อยู่ตามกฎหมาย.
  8. ธมฺมฏฺฐิติ : อิต. การตั้งอยู่แห่งธรรม, สภาพความเป็นจริงแห่งพระธรรม
  9. ธมฺมตา : (อิต.) ความเป็นแห่งธรรม, ความเป็นแห่งปัจจัย, ความเป็นเอง, จารีต, ธรรมเนียม, ประเพณี, สิ่งอันเป็นเอง, ธรรมดา คืออาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ หรือการเสื่อมสลาย คือเสื่อม สลาย. ธมฺม+ตา ปัจ. สกัด. ส. ธรฺมตา.
  10. ธมฺมทายาท : ค. ธรรมทายาท, ผู้มีธรรมเป็นมรดก
  11. ธมฺมทีป : ๑. ค. ธรรมประทีป, ผู้มีธรรมเป็นดวงประทีป; ๒. ค. ผู้มีธรรมเป็นที่พึ่ง, มีธรรมเป็นที่พักพิง
  12. ธมฺมเทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดงซึ่ง ธรรม, การแสดงธรรม, การชี้แจงธรรม, การสอนธรรม.
  13. ธมฺมธช : ค. มีธรรมเป็นธงชัย
  14. ธมฺมนาฏก : ค. นักฟ้อนโดยธรรม, นักฟ้อนโดยกฎหมาย, นักฟ้อนที่พระราชาทรงอนุญาติให้เป็นสาธารณะโดยถูกต้องตามกฎหมาย
  15. ธมฺมนาถ : (ปุ.) ชนผู้มีธรรมเป็นใหญ่, ชนผู้ รักษากฎหมาย
  16. ธมฺมปทฎฺฐกถา : (อิต.) อรรถกถาเป็นเครื่องพรรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งบทแห่งธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งเนื้อความแห่งบทแห่งธรรม, อรรถกถาแห่งธรรมบท.
  17. ธมฺมปทภาณกมหาติสฺสตฺเถร : (ปุ.) พระ เถระชื่อว่าติสสะผู้ใหญ่ผู้กล่าววึ่งบทแห่งธรรม. เป็นวิเสสนปุพ. กัม. มี สัม กัม., วิเสสนบุพ. กัม. , ฉ.ตัป. และ ทุ.ตัป. เป็นภายใน.
  18. ธมฺมปฺปมาณ : ค. มีธรรมเป็นประมาณ, ถือธรรมเป็นประมาณ
  19. ธมฺมปริยาย : (ปุ.) กระบวนของธรรม, ลำดับ ของธรรม, การเล่าเรียนธรรม, การสอนธรรม, นัยเป็นเครื่องยังคำสอนให้เป็นไปรอบ, การอธิบายตามความหมายของธรรม.
  20. ธมฺมภูต : (วิ.) ผู้เป็นเพียงดังเหตุ วิ. ธมฺโม อิว ภูโตติ ธมฺมภูโต. ธมฺโม อิว ภูโต อยนฺติ ธมฺมภูโต, ปฐมาอุปมาบุพ. พหุพ.
  21. ธมฺมภูติ : (อิต.) ความเป็นเพียงดังเหตุ, ความรุ่งเรืองด้วยธรรม, ฯลฯ.
  22. ธมฺมยุตฺติกนิกาย : (ปุ.) ธรรมยุติกนิกาย ชื่อ นิกายสงฆ์ไทยฝ่ายเถรวาท ซึ่งเริ่มขึ้นในรัชกาลที่๓ ตั้งเป็นนิกายชัดเจนในรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์. เมื่อนิกายนี้เกิดขึ้น จึงเรียกคณะสงฆ์ไทยดั้งเดิมว่ามหานิกาย.
  23. ธมฺมราช : (ปุ.) พระราชาแห่งะรรม, พระราชาโดยธรรม, พญาโดยธรรม, พระธรรมราชาเป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ธมฺมสฺส ราชา ธมฺมราชา. ธมฺมสฺส วา ราชาปวคฺคกคฺคา ธมฺมราชา. ธมฺมเมน ราชตีติ วา ธมฺมราชา. ส. ธรฺมราช.
  24. ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺค : (นปุ.) องค์แห่งะรรมเป็นเครื่องตรัสรู้คือการเลือกเฟ้นซึ่งธรรม ฯลฯ.
  25. ธมฺมวินย : (ปุ.) ธรรมและวินัย, พระธรรมและพระวินัย, พระธรรมวินัย. วิ. ธมฺมโม จ วินโย จ ธมฺมวินโย. ส. ทิคุ. บทปลงไม่เป็น ธมฺมวินยํ หรือ ธมฺมวินยา เป็นลักษณะพิเสษของศัพทฺเหมือน ลาภสกฺกาโร.
  26. ธมฺมวิหารี : ค. ผู้มีธรรมเป็นที่อยู่อาศัย, ผู้เป็นอยู่โดยธรรม
  27. ธมฺมสขาต ธมฺมสงฺขาต : (วิ.) อัน...นับ พร้อมแล้วว่าธรรม, เป็นส่วนแห่งธรรม.
  28. ธมฺมสภา : (อิต.) โรงเป็นที่กล่าวกับเป็นที่ แสดงซึ่งธรรม, โรงเป็นที่ประชุมกล่าว เป็นที่แสดงซึ่งธรรม, ธมฺมสภา (ที่ประชุมสอนศาสนา).
  29. ธมฺมสรณ : นป. การถึงธรรมเป็นที่พึ่ง
  30. ธมฺมสวนกาล ธมฺมสฺสวนกาล : (ปุ.) กาล เป็นที่ฟังซึ่งธรรม, กาลเป็นที่ฟังธรรม, เวลาเป็นที่ฟังธรรม.
  31. ธมฺมสวน ธมฺมสฺสวน : (วิ.) (กาล) เป็นที่ฟัง ซึ่งธรรม. วิ. ธมฺมํ สุณาติ เอตฺถาติ ธมฺมสวโน ธมฺมสฺสวโน วา. ศัพท์หลังซ้อน สฺ และใช้ศัพท์นี้โดยมาก.
  32. ธมฺมสเวค ธมฺมสเวช : (ปุ.) ความสลดใน ธรรม, ความสลดใจในธรรม, ความสลดโดยธรรม, ความสังเวชโดยธรรม, ธรรมสังเวช เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อ ท่านประสบอนิฏฐารมณ์ ท่านไม่หวั่นไหวไปตามอนิฏฐารมณ์นั้นๆ.
  33. ธมฺมสากจฺฉา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว กับเป็นเครื่องแสดงซึ่งธรรม, การสนทนาซึ่งธรรม, การสนทนาธรรม.
  34. ธมฺมสามิ ธมฺมสฺสามิ : (ปุ.) พระธรรมสามี เป็นพระนามของพระพทธเจ้าทั้งปวง วิ. ธมฺมสฺส สามิ ธมฺมสามิ. ธมฺมสฺส วา ปวตฺตกตฺตา ธมฺมสามิ ธมฺมสฺสสามิ วา.
  35. ธมฺมสามิสฺสร ธมฺมสฺสามิสฺสร : (วิ.) ผู้เป็น ใหญ่ด้วยความเป็นเจ้าของแห่งธรรม.
  36. ธมฺมสาร : (ปุ.) แก่นแห่งธรรม, ธรรมอันเป็นสาระ.
  37. ธมฺมสาลา : (อิต.) ศาลาเป็นที่แสดงซึ่งธรรม, ศาลาการเปรียญ.
  38. ธมฺมเสนาปติ : (ปุ.) แม่ทัพแห่งธรรม, พระ เถระผู้เป็นเสนาบดีเพราะธรรม, พระ ธรรมเสนาบดี, พระสารีบุตร.
  39. ธมฺมโสณฺฑตา : อิต. ความเป็นผู้ต้องการความเป็นธรรม
  40. ธมฺมาธิฎฺฐ : (วิ.) มีธรรมเป็นที่ตั้ง.
  41. ธมฺมาธิฐาน : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งธรรม, การตั้งไว้ซึ่งสภาวะ, ธรรมาธิษฐาน คือ การยกหลักธรรมหรือสิ่งที่เป็นนามธรรมล้วนๆมาตั้งหรืออธิบาย. การอธิบายธรรมล้วนๆ ไม่มีสัตว์บุคคลเข้าประกอบ เรียก ว่าธรรมาธิษฐาน. คู่กันกับปุคลาธิษฐาน. ส. ธรฺมาธิษฺฐาน.
  42. ธมฺมาธิปติ : ค. ผู้ถือธรรมเป็นใหญ่หรือเป็นผู้นำ
  43. ธมฺมาธิปเตยฺย : (วิ.) มีความเป็นใหญ่ยิ่งโดย ธรรม, มีความถูกต้องเป็นใหญ่ยิ่ง.
  44. ธมฺมานุลฺสติ : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่อง ระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกเนืองๆ ซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ธมฺมคุณ+อนุสฺสติ.
  45. ธมฺมายตน : (นปุ.) ที่เป็นที่ต่อแห่งอารมณ์, ที่เป็นที่ต่อแห่งอารมณ์ที่เกิดกับใจ, แดนแห่งธรรมารมณ์, แดนคือธรรมารมณ์, อายตนะคืออารมณ์ที่เกิดกับใจ, ธรรมา-ยตนะ คือเรื่องที่ใจรู้ อารมณ์ที่ใจรู้.
  46. ธมฺมาราม : (วิ.) มีธรรมเป็นที่มายินดี วิ. ธมฺโม อาราโม ยสฺส โส ธมฺมาราโม.
  47. ธมฺมาสน : (นปุ.) ที่เป็นที่นั่งแสดงซึ่งธรรม, ที่สำหรับนั่งแสดงธรรม, อาสนะเป็นที่ แสดงซึ่งธรรม, ธรรมาสน์ (ที่สำหรับภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม). วิ. ธมฺมํ เทเสนฺโต อาสิ เอตฺถาติ ธมฺมาสนํ. ส. ธรฺมาสน.
  48. ธมฺมำธิปเตยฺย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่ยิ่งโดย ธรรม, ธรรมาธิปไตย (ถือความถูกต้อง เป็นใหญ่).
  49. ธมฺมิก : (วิ.) ประกอบในธรรม, ตั้งอยู่ในธรรม, ทรงธรรม, เป็นไปในธรรม, เลื่อมใสในธรรม, ประพฤติธรรม, เป็นของมีอยู่แห่งธรรม. ณิก ปัจ. ตรัต์ยาทิตัท.
  50. ธมฺมิกถา ธมฺมีกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่อง กล่าวประกาศด้วยธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรม, ถ้อยคำอันเป็นไปในธรรม, คำพูดอันเป็นไปในธรรม, การพูดด้วยเรื่องธรรม, ถ้อยคำที่ประกอบ ด้วยเหตุผล, ถ้อยคำที่มีเหตุผล. ธมฺม+กถา อิ, อี อาคม.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | [2251-2300] | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4363

(0.1140 sec)