Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นประจำ, ประจำ, เป็น , then ปน, ประจำ, เป็น, เป็นประจำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นประจำ, 4363 found, display 2601-2650
  1. ปาริสุทฺธิสีล : นป. ศีลอันบริสุทธิ์, ความเป็นอยู่อย่างบริสุทธิ์
  2. ปาวจน : นป. ปาพจน์; คำอันเป็นประธาน หมายถึงพระธรรมและพระวินัย
  3. ปาสาณวสฺส : นป. ฝนหิน, ฝนที่เป็นหิน (ซึ่งอาฬวกยักษ์บันดาลให้ตกลงมาเพื่อทำร้ายพระโคตมพุทธ)
  4. ปิงฺคลจกฺขุตา : อิต. ความเป็นผู้มีนัยน์ตาสีแดง
  5. ปิจฺฉิล : ค. ลื่นเป็นมัน
  6. ปิจุ : นป. ฝ้าย; สัตว์ป่าชนิดหนึ่งกล่าวกันว่าเป็นลิง
  7. ปิณฺฑปาติก : ค. ภิกษุผู้ถือการฉันอาหารที่ได้มาจากบิณฑบาตเป็นปกติ
  8. ปิณฺฑปาติกตฺต : นป. ความเป็นแห่งภิกษุผู้ถือการฉันอาหารที่ได้มาจากการบิณฑบาต
  9. ปิณฺเฑติ : ก. ทำให้เป็นก้อน, รวมกันเข้า, ผสมกัน
  10. ปิติก : ค. ผู้มีพ่อ, อันเป็นของพ่อ, ซึ่งมาจากพ่อ
  11. ปิตุสนฺตก : ๑. นป. สมบัติของบิดา; ๒. ค. อันเป็นของมีอยู่แห่งบิดา
  12. ปิย : ค. อันเป็นที่รัก, อันเป็นที่พอใจ, เข้ากันได้
  13. ปิยกมฺยตา : อิต. ความใคร่หรือความเป็นผู้ใคร่ในสิ่งอันน่ารักน่าพอใจ
  14. ปิยตฺต : นป., ปิยตา อิต. ความเป็นแห่งสิ่งหรือผู้ซึ่งน่ารักน่าพอใจ
  15. ปิยมนาปตา : อิต. ความเป็นสิ่งที่น่ารักน่าพอใจ
  16. ปิยวิปฺปโยค : ป. ความพลัดพรากจากสิ่งหรือบุคคลอันเป็นที่รัก
  17. ปิโสทร : ค. มีท้องเป็นรอยจุด
  18. ปิหน : นป. ความริษยา, ความไม่อยากให้ผู้อื่นได้ดี, ความรู้สึกไม่สบายใจในความสำเร็จของผู้อื่น; ปรารถนาที่จเป็นเช่นนั้นบ้าง
  19. ปิฬหก : ป. หนอน, สัตว์ชั้นต่ำชนิดมีคูถเป็นอาหาร
  20. ปีติภกฺข : ค. มีปีติเป็นภักษา
  21. ปีติสมฺโพชฺฌงฺค : ป. องค์แห่งธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้ คือปีติ
  22. ปีฬิโกฬิกา : อิต. ขี้ตา, สิ่งปฏิกูลซึ่งไหลออกทางตาเป็นปกติ
  23. ปุคฺคลิก : ค. ซึ่งเป็นของเฉพาะบุคคล, ซึ่งเป็นของส่วนตัว
  24. ปุญฺชกต : ค. อัน... ทำให้เป็นพวก, ทำให้เป็นกอง
  25. ปุญฺญกมฺม : นป. การทำบุญ, การกระทำอันเป็นไปเพื่อความดี
  26. ปุญฺญสฺสย : ป. ธรรมเครื่องอาศัยคือบุญ, ธรรมเป็นเครื่องพึ่งพิงคือบุญ
  27. ปุฏฺฐตฺต : นป. ความเป็นผู้อันเขาเลี้ยงดูแล้ว
  28. ปุณฺฑรีก : นป. ดอกบัวขาว; เสือลาย, ชื่อช้างประจำทิศอาคเนย์; มะม่วงอย่างเล็กมีรสหวาน
  29. ปุตฺตตฺต : นป. ความเป็นบุตร
  30. ปุตฺติยติ : ก. ประพฤติเป็นเพียงดังว่าบุตร
  31. ปุถุชฺชนตา : อิต. ความเป็นปุถุชน
  32. ปุถุชฺชนิก : ค. ผู้เป็นปุถุชน, ผู้เป็นคนธรรมดา
  33. ปุถุปญฺญตา : อิต. ความเป็นผู้มีปัญญากว้างขวาง
  34. ปุปฺผทนฺต : ป. ชื่อช้างประจำทิศ
  35. ปุปฺผปฏ : ป., นป. แผ่นผ้าที่ทำเป็นรูปดอกไม้, ผ้าลายดอกไม้
  36. ปุพฺพก : (วิ.) เป็นของเก่า, ฯลฯ.
  37. ปุพฺพกาย : (ปุ.) เบื้องต้นแห่งกาย, เบื้องต้นของกาย. วิ. กายสฺส ปุพพํ ปุริโม ภาโค ปุพฺพกาโย. เป็นตัปปุริสพิเศษ เมื่อเป็นบทปลง กลับบทหน้าไว้หลัง.
  38. ปุพฺพงฺคม : (วิ.) ถึงก่อน, มีปกติถึงก่อน,เป็นสภาพถึงก่อน, เป็นประธาน. วิ. ปุพฺพํ ปุพฺเพ วา คจฺฉตีติ ปุพฺพงฺคโม.
  39. ปุพฺพณฺหสมย : (ปุ.) สมัยเป็นเบื้องต้นแห่งวัน, ฯลฯ.
  40. ปุพฺพปท : (นปุ.) คำเป็นเครื่องถึงก่อน, คำอันเป็นส่วนเป็นเครื่องถึงก่อนบทนามนาม เช่น ซึ่งบุรุษเป็นต้น, บุพบท, บุรพบท (คำที่ทำหน้าที่เชื่อมคำต่อคำ).
  41. ปุพฺพภาค : (ปุ.) กาลอันเป็นส่วนเบื้องต้น, ส่วนมีในเบื้องต้น, ส่วนเบื้องต้น, ส่วนแรก, บุพภาค, บุรพภาค.
  42. ปุพฺพรตฺติ : (อิต.) ราตรีมีในเบื้องต้น,ราตรีเป็นเบื้องต้น, กาลอันเป็นเบื้องต้นแห่งราตรี.
  43. ปุพฺเพกตปุญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีบุญอันตนกระทำแล้วในกาลก่อน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีบุญอันได้กระทำไว้แล้วในกาลก่อน,ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในกาลก่อน, ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในชาติก่อน.
  44. ปุพฺเพนิวาสญาณ : (นปุ.) ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่แล้วในกาลก่อน. ฯลฯ.
  45. ปุพฺเพนิวาสานุสฺสติญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องระลึกได้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่ในกาลก่อน, ฯลฯ. ศัพท์ทั้งสองนี้ เป็นชื่อของญาณที่ ๑ ในญาณ ๓ ซึ่งพระมหาบุรุษทรงบรรลุในยามแรกแห่งราตรีวันตรัสรู้.
  46. ปุพฺเพสนฺนิวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมกันในชาติก่อน (เคยเป็นคู่กันแต่ปางก่อน)
  47. ปุร : (วิ.) สูง, หน้า, ข้าง, เบื้องหน้า, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า. ปุรฺ อคฺคคมเน, อ.
  48. ปุรตฺถา : (อิต.) ทิศตะวันออก, ทิศบูรพา. ปุรปุพฺโพ, ภา คตินิวุตฺติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. อภิฯ จัดเป็น อัพ.นิบาต ลงในอรรถทิศตะวันออก.
  49. ปุราณ : (วิ.) เก่า, ก่อน, ชั่วก่อน (สมัยก่อน), ชั่วเพรง (ครั้งก่อน), มีอยู่ก่อน, มีในก่อน, เป็นอยู่ก่อน, ร้าง, บุราณ, เบาราณ. วิ. ปุรา ภโว ปุราโณ. น ปัจ. แปลงเป็น ณ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒ ลง ณ ปัจ. คงไว้.
  50. ปุราณทุติยิกา : (อิต.) หญิงผู้ที่สองมีในก่อน, หญิงที่สองมีในก่อน, ปุราณทุติยิกา คือเมียที่มีอยู่ก่อนออกบวช ภริยาเก่าครั้งเป็นคฤหัสถ์ ภริยาเก่าของผู้ออกบวช.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | [2601-2650] | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4363

(0.1455 sec)