Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นประจำ, ประจำ, เป็น , then ปน, ประจำ, เป็น, เป็นประจำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นประจำ, 4363 found, display 2851-2900
  1. มท : (ปุ.) ความเมา, ความมัวเมา, น้ำมันเป็นที่เมาแห่งช้าง, น้ำมันช้างในเวลาตกมัน, ความคะนอง, ความจองหอง, มทฺ อุมฺมาเท, อ. แปลว่า น้ำโสม เหล้า ด้วย?
  2. มทนีย : (วิ.) เป็นที่ตั้งแห่งความเมา.
  3. มธุ : (วิ.) หวาน, อร่อย, อันพึงใจ, เป็นที่รัก, ไพเราะ, ดี.
  4. มนฺถ : (ปุ.) ขนมผง, สัตตุผง, ข้าวสัตตุผง. มนฺถฺ วิโลลเน, อ. ไม้สำหรับกวนนมให้เป็นเนย ก็แปล.
  5. มนฺถนี : (อิต.) ภาชนะสำหรับคนนมให้เป็นเนย.
  6. มนฺถาน : (ปุ.) มันถานะ ชื่อภาชนะวิกัติสำหรับคนนมโคให้เป็นเนย.
  7. มนฺธาตุ : (ปุ.) มันธาตุ ชื่อของพระราชา, พระราชาพระนามว่ามันธาตุ, พระเจ้ามันธาตุราช ชื่อของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่งสามารถบันดานให้ฝนตกเป็น กหาปณะ มํ+ธาตุ (ผู้ทรงไว้ซึ่งสิริ).
  8. มนาป : (วิ.) อันยังใจให้เอิบอาบ, เป็นที่เอิบอาบแห่งใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอ ใจ, เป็นที่ชอบใจ, แนบในใจ, เจริญใจ, พึงใจ, พอใจ, ดีใจ, ดีนัก, งาม. วิ. มโน ปปฺโปติ ยสฺมึ โส มนาโป. มนํ อปฺเปติ วฑฺเฒตีติ วา มนาโป. มนปุพฺโพ, อปฺ ปาปุณเน, กฺวิ.
  9. มนุ : (ปุ.) พระมนู คือพระผู้สร้างมนุษยชาติและปกครองโลก, คนผู้เป็นคนแรกของคน, มนุษย์คนแรก, บุรพบุรุษของคน, ประชาบดี. วิ มนติ ชานาติ สตฺตานํ หิตาหิตนฺติ มนุ. มนฺ ญาเณ, อุ. อภิฯ รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. สัตว์โลก ก็แปล. ดู เวสสันฯ ข้อ๖๖๓.
  10. มนุเชส : (ปุ.) คนผู้เป็นจอมมนุษย์, พระราชา. มนุช+อีส.
  11. มนุสฺส : (ปุ.) ผู้มีใจสูง, ชนผู้มีใจสูง วิ. มโน อุสฺโส อสฺสาติ มนุสฺโส. ชนผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสภาวิมิใช่เตุ วิ. การณาการณํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์และภาวะมิใช่ประโยชน์ วิ. อตฺถานตฺถํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งธรรมอันเป็นกุศลและอกุศล วิ. กุสลากุสเล ธมฺเม มนตีติ มนุสฺโส. มนฺ ญาเณ, อุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์ของตนตามกำลัง วิ. ยถาพลํ อตฺตโน หิตํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้เป็นเหล่ากอของพระมนู, ชาย, มนุษย์, ประชาชน, คน. วิ. มนูโน อปจฺจํ มนุสฺโส. อสฺส ปัจ. โคตดตัท. อภิฯ กัจฯ ๖๗๓.
  12. มนุสฺสชาติ : (อิต.) การเกิดเป็นมนุษย์, ชาติมนุษย์.
  13. มนุสฺสตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งมนุษย์, ความเป็นมนุษย์. ตฺต ปัจ.
  14. มนุสฺสโทภาคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีส่วนชั่วในความเป็นมนุษย์. ณฺย ปัจ.
  15. มนุสฺสปฏิลาภ : (ปุ.) การได้เฉพาะซึ่งอัตภาพแห่งมนุษย์, การได้เฉพาะซึ่งอัตภาพเป็นมนุษย์.
  16. มนุสฺสเผคฺคุ : (ปุ.) มนุษย์กระพี้, คนกระพี้, คนที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม.
  17. มนุสฺสภาว : ป. ความเป็นมนุษย์
  18. มนุสฺสภูต : ค. เป็นมนุษย์
  19. มโนกมฺม : (นปุ.) กรรมอันเป็นไปแล้วในมโนทวาร วิ. มโนทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ มโนกมฺมํ. กรรมอันเป็นไปแล้วในใจ วิ. มนสฺมึ ปวตฺตํ กมฺมํ มโนกมฺมํ. กรรมอันทำแล้วด้วยใจ วิ. มนสา กตํ กมฺมํ มโนกมฺมํ. การทำด้วยใจ, การทำทางใจ. วิ. มนสา กมฺมํ มโนกมฺมํ.
  20. มโนคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปของใจ, ความไปของใจ, ความรู้แห่งใจ, ความสำเร็จแห่งใจ, แบบอย่างแห่งใจ, ความคิด.
  21. มโนปุพฺพงฺคม : (วิ.) มีใจเป็นสภาพถึงก่อน, มีใจเป็นธรรมถึงก่อน, มีใจเป็นหัวหน้า, มีใจเป็นประธาน. วิ. อุปฺปาทปฺปจฺจยตฺเถนมโน ปุพฺพงฺคโม เอเตสนฺติ มโนปุพฺพงฺคมา (ธมฺมา). คำว่า ธรรม ท. ได้แก่ เวทนขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์.
  22. มโนภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งใจ, ความปรากฏในใจ, มโนภาพ คือ ความคิดเห็นเป็นภาพขึ้นในใจ.
  23. มโนภู : (ปุ.) ความเป็นในใจ, ความมีในใจ, ความโลภ, กามเทพ. วิ. สิงฺคารรูเปน ปาณีนํ มนสิ ภวตีติ มโนภู. กฺวิ ปัจ.
  24. มโนรถ : (ปุ.) ความประสงค์ดุจรถแห่งใจ, ความปรารถนาเป็นที่ยินดีแห่งใจ, ความปรารถนาแห่งใจ, ฉันทะเป็นที่ยินดีแห่งใจ, ความหวัง, ความประสงค์, ความใฝ่ฝัน, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. วิ. จิตฺตสฺส นานารมฺมเณสุ วิพฺภมกรณโต มนโส รโถ อิว มโนรโถ. รหียตีติ รโถ. รหฺ อุปาทาเน, โถ. ลบ หฺ. มโน เอว รโถ วิยาติ วา มโนรโถ.
  25. มโนรม : (วิ.) เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ, เป็นที่ขอบใจ, เป็นที่ยินดีแห่งใจ, งาม ดี ดีนัก. วิ. มโน รมตฺยสฺมินฺติ มโนรมมํ. รมุ รมเณ, อ.
  26. มโนสิลา : (อิต.) น้ำชาด (คุณสมบัติหรือสาระของชาด). ชาดก้อน. ชาดเป็นชื่อของวัตถุสีแดงเป็นผงก็มี เป็นก้อนก็มี.
  27. มโนหร : ค. เป็นที่จับใจ, น่ารักใคร่
  28. มมงฺการ : (ปุ.) อภิมนะเป็นที่กระทำว่าของเรา, อภิมานะเป็นที่กระทำว่าของของเรา, ความถือตัวว่าเป็นของเรา, ความถือว่าของเรา, มมังการ เป็นกิเลสชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นแล้วทำให้ถือก๊กถือพวก เป็นเหตุให้แตกสามัคคี เกิดความแตกร้าวในหมู่คณะ เป็นกิเลสคู่กับอหังการ คือถือตัวหยิ่ง ยโส.
  29. มมตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของเรา, ความยึดถือว่าของเรา. ตฺต, ตา ปัจ.
  30. มมตฺตา : (อิต.) ความเป็นแห่งของเรา, ความยึดถือว่าของเรา. ตฺต, ตา ปัจ.
  31. มมฺมจฺเฉทวจน : (นปุ.) คำเป็นเครื่องตัดเสียซึ่งความรักเป็นเหตุตาย.
  32. มมายิต : (วิ.) อัน..ถือแล้วว่าเป็นของแห่งเรา, อันโลกนับถือแล้วว่าเป็นของแห่งเรา, ยึดถือว่าเป็นของเรา, ยึดถือว่าของเรา. มม+อา+อยฺ ธาตุ ต ปัจ. อิ อาคม.
  33. มยูข : (ปุ.) รัศมี, แสง, แสงสว่าง. วิ. มยตีติ มยูโข. มยฺ คติยํ, โข, อูอาคโม. รัสสะเป็น มยุข บ้าง.
  34. มร : (ปุ.) การตาย, ความตาย. มรฺ ธาตุ อ, ยุ ปัจ. มรณะที่ใช้ในภาษาไทยใช้เป็นกิริยาว่า ตาย ศัพท์มคธที่เป็นนามเมื่อนำมาใช้ในภาษาไทยแล้วใช้เป็นกิริยามีมากมาย.
  35. มรณ : (นปุ.) การตาย, ความตาย. มรฺ ธาตุ อ, ยุ ปัจ. มรณะที่ใช้ในภาษาไทยใช้เป็นกิริยาว่า ตาย ศัพท์มคธที่เป็นนามเมื่อนำมาใช้ในภาษาไทยแล้วใช้เป็นกิริยามีมากมาย.
  36. มรณเจตนา : (อิต.) เจตนาเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ตาย.
  37. มรณธมฺม : (วิ.) มีอันตรายเป็นสภาพ, มีความตายเป็นธรรมดา.
  38. มรณปริโยสาน : ค. มีความตายเป็นที่สุด
  39. มรณภาว : (ปุ.) ความเป็นคืออันตาย, ความเป็นคืออันจะตาย, ฯลฯ, ความตาย. ไทยมรณภาพ ใช้เป็นกิริยาว่า ตาย เฉพาะการตายของพระสงฆ์.
  40. มรณลกฺขณ มรณลิงฺค : (วิ.) มีความตายเป็นลักษณะ.
  41. มรีจิธมฺม : ค. ไม่มีเนื้อมีหนัง, ธรรมมีพยับแดดเป็นอารมณ์
  42. มล : (นปุ.) ธรรมชาตอันตัดเสียซึ่งความเป็นของอันยังใจให้เจริญ, สิ่งอันตัดเสียซึ่งความเจริญของใจ. มน+ลุ ธาตุ อ ปัจ.
  43. มลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐาน : (นปุ.) การทัดทรงและการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกม้าและของหอมและเครื่องประเทืองผิวอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว, ฐานะอันเป็นที่ตั้งแห่งการทัดทรงและการประดับและการตกแต่งด้วยดอกไม้และของหอมและเครื่องลูบไล้ (เครื่องย้อมเครื่องทา), การทัดทรงการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกไม้ของหอมเครื่องย้อมเครื่องทาอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว.
  44. มห : (วิ.) ใหญ่, ยิ่ง, มาก, นัก. มหฺ วุฑฺฒิยํ, อ. หรือ มหนฺต ศัพท์แปลงเป็น มห.
  45. มหคฺคต : (วิ.) อันถึงแล้วซึ่งความเป็นใหญ่, (จิต) ที่ถึงแล้วซึ่งความเป็นใหญ่คือได้รูฌาณและอรูปฌาณ.
  46. มหคฺคตารมฺมณ : (วิ.) มีอารมณ์เป็นรูปาวจร และ อรูปาวจร. มห (ยิ่ง)+คต+อารมฺมณ.
  47. มหตฺต : นป. ความเป็นผู้ยิ่งใหญ่
  48. มหลฺล มหลฺลก : (วิ.) ใหญ่, โต, มาก, แก่, ผู้ถือเอาซึ่งความเป็นผู้ใหญ่โดยอายุ. วิ. อายุมหตฺตํ ลาตีติ มหลฺโล มหลฺลโก วา.
  49. มหากจฺจายน : (ปุ.) พระมหากัจจายนะ ชื่อ พระเถระครั้งพุทธกาลองค์หนึ่ง ซึ่งเป็นเอตทัคคะในการบรรยายธรรมให้พิสดาร.
  50. มหาการุณิก : (วิ.) ประกอบด้วยความกรุณามาก, ประกอบด้วยพระมหากรุณา เป็นคุณบทของพระพุทธเจ้า.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | [2851-2900] | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4363

(0.1359 sec)