Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นประจำ, ประจำ, เป็น , then ปน, ประจำ, เป็น, เป็นประจำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นประจำ, 4363 found, display 351-400
  1. จุจิ : (นปุ.) ทรวง, ทรวงอก, หน้าอก. จิกฺ อามสเน, อิ. แปลง อิ ที่ จิ เป็น อุ แปลง กฺ เป็น จฺ.
  2. จุจุก : (นปุ.) หัวนม. จุ จวเน, อุโก, ทฺวิตฺตํ. จญฺจุ คติยํ วา, อุโก, ญฺโลโป, อสฺสุ. อภิฯ และ ฎีกาอภิฯ เป็น จูจุก โดยทีฆะต้นธาตุเมื่อ แปลงเป็นจุจุ แล้ว.
  3. จุทฺทส โจทฺทส : (ไตรลิงค์) สิบสี่ วิ. จตฺตาโร จ ทสา จาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตูหิ วา อธิกา ทสาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตุ+ทส ลบ ตุ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลง โย วิภัตินาม ลบโยรูปฯ๒๕๖,๓๙๑. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๐ ว่าแปลง จตุ เป็น จุ, โจ ซ้อน ทฺ เป็น จุทส โจทส โดยไม่ซ้อนบ้าง.
  4. จุมฺพฏ จุมฺมฏก จุมฺพตก : (นปุ.) เชิง, เชิงรอง, เครื่องรองภาชนะ, เทริด, เสวียน, รัดเกล้า ชื่อเครื่องประดับศรีษะเพื่อรัดผมที่เกล้าไว้ ให้แน่น, ของที่เป็นวงกลม, เครื่องสำหรับ รองของที่เทินไว้บนศรีษะ (ส่วนมากทำ ด้วยผ้าเป็นวงกลม). จุมฺพฺ วทนสํโยเค, อโฏ. สองศัพท์หลัง ก สกัดศัพท์สุดแปลง ฏ เป็น ต.
  5. จุล จุลฺล จุฬ : (วิ.) น้อย, เล็ก, ละเอียด, ป่น. จุฬฺ เปรเณ, อ. ศัพท์แรก แปลง ฬ เป็น ล ศัพท์ที่สอง แปลง ล เป็น ลฺล หรือ จิ จเย, อุโล, อิสฺสุ.
  6. เจติย : (ปุ.) เทวาลัย, ถูป (เจดีย์), สตูป (เป็นภา ษาสันสกฤต), สถูป (มาจาก สตูป แปลง ต เป็น ถ), เจดีย์ ชื่อสิ่งที่ก่อสร้างขึ้น มีรูป คล้ายลอมฟาง มียอดแหลม สำหรับบรรจุ สิ่งที่เคารพนับถือ สิ่งอื่นๆ เช่นต้นไม้ เป็น ต้นที่นับถือ (เชื่อว่า) มีเทวดาสถิตอยู่ ก็นับ เข้าเจดีย์ได้. วิ. เจตพฺพนฺติ เจติยํ. จิตฺ ปูชายํ, โณฺย. อิอาคโม. ย ฐาน ชเนหิ อิฏฺฐกาทีหิ เจตพฺพ ตสฺมา ต ฐาน เจติย. จิตฺจยเน, ณฺย, อิ อาคโม.
  7. เจติยงฺคณสมฺมชฺชนคนฺธมาลาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจ มีอันกวาดซึ่งลานแห่งเจดีย์และอันบูชาด้วย วัตถุมีของหอมและระเบียบเป็นต้น เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ฉ. ตัป., ส. ทวัน., ฉ. ตุล., ฉ. ตัป., ส. ทวัน,และฉ.ตุล.เป็นภายใน
  8. โจตฺตาลีส โจตฺตาฬีส : (อิต.) สี่สิบสี่. จตุ+ ตาลีส. รูปฯ ๒๕๖ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลบ ตุ ซ้อน ตฺ. โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๑๐๐ แปลง จตุ เป็น จุ, โจ.
  9. โจรเชฏฺฐ โจรเชฏฺฐก : (ปุ.) นายโจร (คนที่ เป็นใหญ่ในพวกโจร). เป็น ส. ตัป. โจร – โจก (โจกคือหัวหน้า), โจรผู้เป็นหัวหน้า, โจรผู้เป็นใหญ่. เป็นวิเสสนบุพ. กัม.
  10. โจล โจฬ : (นปุ.) ผ้า, แผ่นผ้า, ท่อนผ้า, จิลฺ วสเน, โณ, อิสฺโส. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ. อถวา, จุ จวเน, โล, โฬ. ส. ไจล, โจล.
  11. ฉกน : (นปุ.) ขี้ของสัตว์. ยุ ปัจ. เป็น ฉกณ บ้าง.
  12. ฉกลก ฉคลก : (ปุ.) แพะ วิ. ฉินฺทนฺโต คจฺฉตีติ ฉกลโก ฉคลโก วา. ฉ มาจาก โฉ ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. กล, คล มาจาก คมฺ ธาตุ อ ปัจ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. แปลง ม เป็น ล ศัพท์ต้น แปลง ค เป็น ก ลง ก สกัด. ส. ฉค.
  13. ฉชฺช : (ปุ.) ฉัชชะ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๓ ใน ๗ อย่าง เกิดจากหกส่วนคือ จมูก ปาก อก เพดาน ลิ้น และฟันหรือคอ เป็นเสียง เหมือนนกยูงร้อง วิ. ฉหิ ชาโต ฉชฺโช. ฉ+ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง ช เป็น ชฺช.
  14. ฉฏฺฐ ฉฏฺฐม : (วิ.) ที่หก วิ. ฉนฺนํ ปูรโณ ฉฏฺโฐ ฉฏฺฐโมวา.ฉ ศัพท์ ฐ ปัจ. ปูรณตัท. ซ้อน ฏฺ ศัพท์หลัง แปลง ฉฏฺฐ เป็น ฉฏฺฐม รูปฯ ๓๙๑. สัททนีติว่า ลง ม สกัด. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๕๔ ลง ฎฺฐ, ฏฺฐม ปัจ.
  15. ฉณ : (ปุ.) การรื่นเริงเป็นที่ตัดเสียซึ่งความโศก, มหรสพ,มโหรสพ. วิ. ฉินฺทติ โสก เมตฺถาติ ฉโณ. ฉิ เฉพฺน, ยุ, อิสฺสตฺตํ. ใน วิ. ใช้ ฉิทฺ ธาตุแทน เป็น ฉณฺณ บ้าง.
  16. ฉตฺต : (นปุ.) ซากศพ. ฉฏฺฏฺ ฉฑฺฑเน, อ. แปลง ฏฺฏ เป็น ตฺต.
  17. ฉตฺตึสโยชนปริมณฺฑล : (วิ.) มีปริมณฑลมี โยชน์สามสิบหกเป็นประมาณ เป็น ฉ. ตุล. มี อ. ทิคุ. และ ฉ. ตุล เป็นท้อง.
  18. ฉทฺท : (นปุ.) หลังคา, หลังคาบ้าน. วิ. ฉาเทติ เอเตนาติ ฉทฺทํ. ฉทฺ ธาตุ อ ปัจ. แปลง ท เป็น ทฺท.
  19. ฉทฺทนฺต : (ปุ.) ฉัททันต์ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ที่ ๑๐ ใน ๑๐ ตระกูล มีกายบริสุทธิ์ดังเงิน ยวง ปากและเท้าสีแดง. คัมภีร์ทางพม่า และฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
  20. ฉนฺน : (วิ.) สมควร, เหมาะสม, นุ่งห่ม, ปกปิด, กำบัง, ปิดบัง, ซ่อนเร้น, เงียบ, วังเวง, สงัด, ลับ. ฉทฺ สํวรเณ, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบที่สุดธาตุ กัจฯ และรูปฯ แปลง ต เป็น อนฺน ลบที่สุดธาตุ อภิฯ แปลง ต กับที่สุด ธาตุเป็น อนฺน.
  21. ฉปฺปญจวาจา : (อิต.) วาจาหกหรือห้า, วาจาห้า หรือหก, คำพูดห้าหกคำ. วิ ฉ วา ปญฺจ วา วาจา ฉปฺปญฺจวาจา. เป็น ปฐมาวิภัตต – ยันตพหุพ. รูปฯ ๓๔๑.
  22. ฉมณฺฑ : (ปุ.) ลูกกำพร้า (ไร้พ่อไร้แม่ ). ฉฑฺฑฺ ฉฑฺฑเน, อ. แปลง ฑฺ ตัวสังโยคเป็น ทฺ แล้วแปลง ทฺ เป็น ม แปลง ฑ ตัวท้ายเป็น ท แล้วแปลงเป็น ณฺฑ.
  23. ฉลายตน ฉฬายตน : (นปุ.) อายตนะหก. ฉ+ อายตน ลฺ อาคม ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  24. ฉวฑาหก ฉวฬาหก : (ปุ.) สัปเหร่อ (คนผู้ทำ หน้าที่เกี่ยวกับศพ คนผู้ทำหน้าที่เผาศพ) ฉวปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ณฺวุ, ทสฺส โฑ. ศัพท์หลัง แปลง ท เป็น ฬ.
  25. ฉวิ : (วิ.) งาม, รุ่งเรือง, เปล่งปลั่ง, ผ่องใส, สุกใส, ฉิ ทิตฺติยํ, ณิ. แปลง อิ ที่ ฉิ เป็น อุ พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว.
  26. ฉฬภิญฺญา : (อิต.) อภิญญาหก. ฉ+อภิญฺญา ลฺ อาคม แปลง ล เป็น ฬ.
  27. ฉาค ฉาคล : (ปุ.) แพะ, แกะ. ฉบทหน้า คมฺ ธาตุ อปัจ. ลบ ม ศัพท์หลังไม่ลบ แปลง ม เป็น ล ทีฆะ อ ที่ ฉ. ส. ฉาค.
  28. ฉาป ฉาปก : (ปุ.) ลูกน้อย. ฉุปฺ สมฺผสฺเส, โณ, อุสฺสาตฺตํ (แปลง อุ เป็น อา) ศัพท์หลัง ก สกัด.
  29. ฉิคฺคล : (นปุ.) รู, ช่อง, โพรง, ขุม, หลุม, บ่อ. วิ. ฉินฺทิตฺวา คจฺฉตีติ ฉิคฺคลํ. ฉิ+คมฺ+อ ปัจ. แปลง ม. เป็น ล ซ้อน คฺ.
  30. ชคฺคน : (นปุ.) การกวาด, การเช็ด, การถู, การทำความสะอาด. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, ยุ. แปลง ม เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ช แปลง ชฺช ท้ายธาตุเป็น คฺค แปลง ยุ เป็น อน.
  31. ชคตี : (อิต.) แผ่นดิน. ภาคพื้น. วิ. คจฺฉนฺติ ยสฺสํ สา ชคตี. คมฺ ธาตุ อนฺตปัจ. เท๎วภาวะ ค แปลงเป็น ช ลบ นฺ และ มฺ อี อิต. อภิฯ และ ฎีกาอภิฯ เป็น ชคติ ชคฺคติบ้าง.
  32. ชงฺเคยฺยก : (นปุ.) เครื่องประดับแข้ง, ชังเคยยกะ ชื่อกระทงจีวร เมื่อห่มแล้วกระทงนี้จะอยู่ รอบแข้ง. ชงฺฆา ศัพท์ เณยฺยก ปัจ. แปลง ชงฺฆา เป็น ชงฺคา เป็น ชงฺเฆยฺยก โดยไม่ แปลงบ้าง
  33. ชงฺฆา : (อิต.) แข้ง วิ. ชายติ คมน เมตายาติ ชงฺฆา. ชนิ ปาตุภาเว, โฆ, นสฺส นิคฺคหีตํ (แปลง น เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ อีกเนื่องจาก ฆ อยู่หลัง). ส. ชงฺฆา ขา.
  34. ชจฺจ : (นปุ.) ความเกิด, ความบังเกิด, กำเนิด. ชาติ. ชนฺ ชนเน, โย. แปลง นฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แล้วแปลงเป็น จฺจ.
  35. ชจฺจนฺธ : (วิ.) บอดแต่กำเนิด, บอดโดยกำเนิด. วิ ชาติยา อนฺโธ ชจฺจนฺโธ. ชาติ+อนฺธ สำเร็จโดยวิธีสนธิดังนี้ แปลง อิ เป็นเป็น ชาตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ รัสสะ อา เป็น อ รวมเป็น ชจฺจนฺธ รูปฯ ๓๓๖.
  36. ชณฺณุ ชณฺณุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. วิ. ชายติ คมน เมเตนาติ ชณฺณุ, ชนฺ ปาตุภาเว, ณุ. แปลง นฺ เป็น นฺน แล้วแปลงเป็น ณฺณ ศัพท์หลัง ก สกัด ใช้ ชนฺนุ เป็นส่วนมาก.
  37. ชตุ : (นปุ.) ครั่ง ใช้เรียกทั้งตัวครั่งและขี้ครั่ง โดยมากหมายเอาขี้ครั่งที่ใช้เป็นชื่อตัวครั่ง น่าจะ เป็น ปุ., ยาง, ยางไม้. ชนฺ ชนเน, ตุ, นฺโลโป. ส. ชตุ.
  38. ชนวาท : (ปุ.) การกล่าวโทษ. ชส + วาท แปลง ส เป็น น.
  39. ชนิก : (ปุ.) แปลเหมือน ชนก. แปลง อ ที่ น เป็น อิ.
  40. ชมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ชมฺปติ. ลบ ยา รัสสะ อาทีชา เป็น อ สังโยค ม. ส. ชมฺปตี.
  41. ชมฺพว : (นปุ.) ผลชมพู่, ผลหว้า. วิ. ชมฺพุยา ผลํ ชมฺพวํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. พฤทธิ์ อู เป็น อว โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๒๙.
  42. ชมฺพาล : (ปุ.) เปือกตม (เลนตมที่ละเอียด) วิ. ชลํ พลเตติ ชมฺพาโล. พลฺ ปาณเน, โณ แปลง ล ที่ ชล เป็น ม. ส. ชมฺพาล.
  43. ชมฺพุก : (ปุ.) หมาจิ้งจอก. ชมุ อทเน, ณฺวุ. ลง พ อักษร ที่สุดธาตุและแปลง อ เป็น อุ. ส. ชมฺพุก, ชมฺพูก.
  44. ชมฺพุทีป : (ปุ.) ชมพูทวีป ชื่อมหาทวีป ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. ชมฺพุยา ปญฺญาโต ลกฺขิโต ทีโป ชมฺพุทีโป. รัสสะ อู เป็น อุ. รูปฯ ๓๓๖ เป็นชมพูทีป. ส. ชมฺพุทฺวีป.
  45. ชย : (วิ.) ผู้ชนะ วิ.ชินาตีติ ชโย.ชิ ชเย, อ. โณ วา. วิการ อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย.
  46. ชยมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว. วิ. ชายา จ ปติ จ ชยมฺปติ รัสสะ อาที่ ชา และยา สังโยค มฺ หรือ ลง นิคคหิตอาคม แล้วแปลงเป็น มฺ อภิฯ ว่าเพราะมี ปติ อยู่เบื้องปลาย แปลง ชายา เป็น ชย.
  47. ชยฺย : (วิ.) ประเสริฐ, เจริญ, ชิ ชเย, โย.แปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย.
  48. ชยสุมนาลตฺตกปาฏลวณฺณ : (วิ.) มีสีเพียง ว่าสีแห่งดอกชัยพฤกษ์และสีครั่งและ ดอกแค. เป็น ฉ. อุปมาพหุพ. มี อ.ทวัน. เป็นท้อง.
  49. ชลนยน ชลเนตฺต : (นปุ.) น้ำแห่งตา, น้ำตา, ชลนัยน์ ชลนา ชลเนตร (น้ำตา). นยน + ชล, เนตฺต+ชล. เป็น ส.ตัป กลับ บทหน้า ไว้หลัง เมื่อเป็นบทปลง.
  50. ชลปถถลปถาทิ : (วิ.) มีทางในน้ำและทางบน บกเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ส.ตัป, ส.ตัป. และ อ.ทวัน. เป็นท้อง.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4363

(0.1342 sec)