Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นประจำ, ประจำ, เป็น , then ปน, ประจำ, เป็น, เป็นประจำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นประจำ, 4363 found, display 3551-3600
  1. อนนุรูป : (นปุ.) กรรมไม่เป็นไปตามซึ่งรูป.
  2. อนพฺภุณฺณตตา : อิต. ความเป็นของไม่ตั้งขึ้น
  3. อนภิรทฺธิ : (อิต.) ความขึ้งเคียด, ความจำนงภัย, ความปองร้าย.วิ.ปรสมฺปตฺตีสุ นาภิรมตีติอนภิรทฺธิ.นอภิปุพฺโพ, รมุรมเณ, ติ.แปลงติเป็นทฺธิลบมุ.
  4. อนริย : (วิ.) มิใช่เป็นวัตรปฏิบัติของพระอริยะ, มิใช่ของพระอริยะ, อันไม่ประเสริฐ, ไม่ประเสริฐ.ส.อนารยไม่เจริญ, ป่าเถื่อน.
  5. อนฺวฑฺฒมาสอนฺวทฺธมาส : (นปุ.) กึ่งแห่งเดือนโดยลำดับ, ทุกกึ่งเดือน, ทุกปักษ์.วิ.อนุปุ-พฺเพนอฑฺฒมาสํอทฺธมาสํวาอนฺวฑฺฒมาสํอนฺวทฺธมาสํวา.ลบปุพฺพแปลงอุที่นุเป็นอ.
  6. อนฺวย : (ปุ.) การเป็นไปตาม, การอนุโลมตาม, ความเป็นไปตาม, ความอนุโลมตาม, การสืบสาย, เชื้อสาย, วงศ์.อนุปุพฺโพ, อิ คติยํ, อ.ส. อนฺวย.
  7. อนวรต : (วิ.) เที่ยง, ทุกเมื่อ, เป็นนิตย์, เนืองๆ, สะดวก.นอวปุพฺโพ, รมุ, รมเน, โต.
  8. อนฺวห : ก.วิ. ทุก ๆ วัน, ประจำวัน
  9. อนฺวาสตฺตตา : อิต. ความเป็นผู้ถูกกระทบแล้ว, ความยึดมั่นถือมั่น
  10. อนสฺสว : (วิ.) ไม่ฟังตาม, ไม่เชื่อฟัง, ว่าไม่ฟัง.อนุ+สุ ธาตุ ณปัจ. แปลงอุ ที่อนุเป็นอพฤทธิอุที่สุเป็นโอ แปลงโอเป็น อวซ้อนสฺ.
  11. อนาคมิตา : อิต. ความเป็นพระอนาคามี
  12. อนาคามี : (วิ.) ผู้ไม่มาเป็นอีก, ผู้จะไม่มาเป็นอีกผู้ไม่มีการมาสู่กามธาตุด้วยสามารถแห่งปฏิ-สนธิ.วิ.ปฏิสนฺธิวเสน อิมํ กามธาตํนอาคจฺฉตีติอนาคามี.
  13. อนาคาริย : (ปุ.) คนไม่ครองเรือน, ฯลฯ.แปลงกเป็นยหรืออิย ปัจ.ชาตาทิตัท.
  14. อนาณตฺติก : (วิ.) ไม่ต้องเพราะสั่ง, ไม่ต้องเพราะบังคับ.สิกขาบทใดของบรรพชิตหรือของผู้ครองเรือนใช้ให้ผู้อื่นทำไม่ต้องอาบัติ หรือศีลไม่ขาด, ทำเองจึงต้องอาบัติหรือศีลจึงขาด สิกขาบทนั้นเป็นอณาถณัต-ติกะ.เช่นสิกขาบทเกี่ยวกับการประพฤติผิดในกาม.
  15. อนาทร : (วิ.) ไม่เอื้อเฟื้อ, ไม่เอาใจใส่, ไม่พะวงไม่นำพา, เฉยเมย, เกียจคร้าน, คร้าน, เบียดเบียน, รบกวน, ดูถูก, ดูหมิ่น, ดูแคลนไม่เห็นแก่กัน, อนาทร (อะนาทอน) ไทยใช้ในความหมายว่าเป็นทุกข์เป็นร้อนร้อนอกร้อนใจ.น+อาทร.
  16. อนาทรตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่เอื้อเฟื้อ
  17. อนายุยายี : (วิ.) เที่ยง, ทุกเมื่อ, เนืองๆ, เป็นนิคย์, นอาปุพฺโพ, รมุรมเน.โต.
  18. อนาวฏทฺวารตา : (อิต.) ความเป็นแห่งตนผู้มีประตูอัน-ปิดแล้วหามิได้, ความเป็นคนไม่ปิดประตู (ยินดีต้อนรับ).น+อาวฎ+ทฺวาร+ตาปัจ.
  19. อนาสกตฺต : นป. ความเป็นผู้อดอาหาร
  20. อนิจฺจตา : (อิต.) ความเป็นของไม่เที่ยง, ฯลฯ.
  21. อนิจฺจลกฺขณ : (วิ.) มีความไม่เที่ยงเป็นเครื่องหมาย
  22. อนิล : (ปุ.) สภาพเป็นเครื่องเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตอากาศ, ลม.วิ.อนติ อเนนาติ อนิโล.อนฺปาณเน, อิโล.ส.อนิล.
  23. อนิเวสน : (วิ.) ผู้ไม่มีเรือนเป็นที่ตั้ง, ผู้ไม่ติดที่อยู่.
  24. *อนุคฺฆาเฏติ : ก. เปิด, ไม่ปิด, แก้ออก *ของ P.T.S.D. มีความหมายตรงข้ามแปลว่าปิด, มัด โดยแยกศัพท์เป็น น+อุคฺฆาเฏติ
  25. อนุจฺจิฏฺฐ, อนุจฺฉิฏฺฐ : ค. ยังไม่ได้แตะต้อง, ไม่เป็นเดน
  26. อนุจฺฉวิก : (วิ.) เป็นไปตามซึ่งผิววิ.ฉวีอนุวตฺตตีติ อนุจฺฉวิกํ.สมควรแก่ผิววิ.ฉวิยาอนุรูปํอนุจฺฉวิกํ.ลบรูปแล้วกลับบทกสกัด.
  27. อนุจารี : (ปุ.) ชนผู้เที่ยวไปโดยลำดับโดยปกติ, ชนผู้เที่ยวไปโดยลำดับเป็นปกติ, ชนผู้มีปกติเที่ยวไปโดยลำดับ.
  28. อนุช : (ปุ.) ชนผู้เกิดในภายหลัง, น้อง, น้องชายวิ.อนุ ปจฺฉาชาโต อนุโช. อนุปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ. รูปฯ ๕๗๐ ใช้ ปจฺฉาแทนอนุ.วิ.ปจฺฉาชาโต อนุโช.ในคำประพันธ์ไทยตัดอออกเป็นนุช (นุต)ใช้ในความหมายว่าน้องน้องสาว หรือหญิงคู่รัก.ส. อนุช.
  29. อนุญฺญาตตฺต : นป. ความเป็นผู้ได้รับอนุญาต
  30. อนุตฺตรสมฺมาสมฺโพธิญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบอย่างยิ่ง, ญาณเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบอย่างยิ่ง.
  31. อนุทฺทยตา : อิต. ความเป็นผู้เอ็นดู
  32. อนุทิน : (นปุ.) วันโดยลำดับ, เฉพาะวัน, รายวัน, ประจำวัน, อนุทิน.ส.อนุทิน.
  33. อนุธมฺม : (วิ.) สมควรแก่ธรรม, เป็นไปตามซึ่งธรรม.
  34. อนุธมฺมตา : อิต. ความเป็นธรรมอันสมควร, ความเป็นจริงตามธรรมชาติ
  35. อนุป : (ปุ.) ประเทศอันชุ่มชื้นด้วยน้ำวิ. อนุคตาอาปาอเตฺรติอนุโป.บางมติว่า เป็นไตรลิงค์.ส.อนุป.
  36. อนุปติตตฺต : นป. ความเป็นผู้ถูกจู่โจมหรือติดตาม
  37. อนุปพนฺธนตา : อิต. ความสืบต่อ, ความเป็นไปโดยไม่ขาดระยะ
  38. อนุปพนฺธนา : อิต. ความสืบต่อ, ความเป็นไปโดยไม่ขาดระยะ
  39. อนุปวตฺตก : ค. ผู้ให้เป็นไป, ผู้สืบต่อ
  40. อนุปวตฺเตติ : ก. ให้เป็นไป ; ให้ดำรงอยู่, ให้สืบต่อ
  41. อนุปวิฏฺฐตา : อิต. ความเป็นผู้เข้าไปตาม, ความเป็นของไหลเข้าไป
  42. อนุปสณฺฐปนา : อิต. ไม่หยุดอยู่, ความเป็นไปไม่ขาดระยะ
  43. อนุปาทิเสส : (วิ.) ไม่มีอุปาทิเป็นส่วนเหลือหมายความว่าไม่มีเบญจขันธ์เหลืออยู่คือเบญจขันธ์ดับไปแล้ว.
  44. อนุปายินี : (วิ.) อันไปตามโดยปกติวิ.อนุปยติสีเลนาติอนุปายินี.อนุปุพฺโพ, ปยฺคมเน, ณี, อิตฺถิยํอินี.มีอันเป็นไปตามเป็นปกติวิ.อนุปายิตํสีลมสฺสาติอนุปายินี.มีปกติไปตามวิ.อนุปายสีโลติอนุปายินี.
  45. อนุปุพฺพ : (วิ.) อันเป็นไปตามซึ่งกาลในเบื้องหน้า, อันเป็นไปตามซึ่งธรรมในเบื้องหน้า, เป็นกระบวน, เป็นแบบ, เป็นฉบับ, เป็นแบบฉบับ, เป็นลำดับ.
  46. อนุปุพฺพตา : อิต. ความเป็นลำดับ, ความสืบต่อ
  47. อนุปุพฺพิกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งธรรมมีในเบื้องต้น, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งที่อันมีในเบื้องหน้า, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรมโดยลำดับ, ถ้อยที่แสดงไปตามลำดับ, การกล่าวโดยลำดับวิ.อนุปุพฺเพน กถาอนุปุพฺพิกถา.แปลงอที่สุดศัพท์เป็นอิหรือลงอิอาคมเป็นอนุปุพฺพีกถาโดยแปลง อเป็นอีบ้าง.อนุปุพฺพ เป็นต้นเมื่อเข้ามาสมาสกับศัพท์ที่สำเร็จมาจากกรฺกถฺธาตุจะแปลงอของศัพท์ต้นเป็นอิหรืออีเสมอ.
  48. อนุพนฺธ : (ปุ.) อักษรที่หายไปเช่นอิอุที่ติดมากับธาตุเมื่อเป็นรูปสำเร็จอิอุหายไป(คือ ลบ อิ อุ) เรียกอักษรอย่างนี้ว่าอนุพันธะ
  49. อนุภาวตา : อิต. ความเป็นผู้มีอานุภาพ, ความเป็นผู้มีอำนาจ
  50. อนุภูยมานตฺต : นป. ความเป็นผู้ถูกกิน, ความเป็นผู้ถูกเสพ, ความเป็นผู้ถูกเสวย
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | [3551-3600] | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4363

(0.1480 sec)