Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นประจำ, ประจำ, เป็น , then ปน, ประจำ, เป็น, เป็นประจำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นประจำ, 4363 found, display 4101-4150
  1. อุปนิสฺสย : (ปุ.) ธรรมเป็นที่เข้าไปอาศัย, ธรรมเป็นอุปนิสัย, ฉันทะเป็นที่เข้าไป อาศัย, อุปนิสสัย อุปนิสัย คือความประพฤติเคยชิน เป็นพื้นมาแต่อดีตชาติ คุณ ความดีที่ฝังอยู่ใน สันดาน ซึ่งจะเป็นฐาน รองรับผลดียิ่ง ๆ ขึ้นไป หรือแววของจิต. ในอภิธรรม หมายเอา คุณความดีอย่างเดียว ส่วนคำนิสสัย นิสัย หมายเอาทั้งทางดีทางชั่ว. อุป นิ ปุพฺโพ, สิ สี วา สเย, อ.
  2. อุปฺปฏิปาฏิ : อิต. ความไม่เป็นไปตามลำดับ, ความไม่สม่ำเสมอ
  3. อุปปริกฺขา : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องเข้าไปเห็น.
  4. อุปฺปาทวยธมฺมิน : (วิ.) มีอันเกิดขึ้นและอัน เสื่อมไปเป็นธรรมดา, มีความเกิดขึ้นและ ความเสื่อมไปเป็นธรรมดา. อุปฺผณฺฑน อุปฺผนฺทน (นุป.) ความหมั่น, ฯลฯ. อุปุพฺโพ, ผทิ กิญฺจิจลเน, ยุ, ปฺสํโยโค.
  5. อุปโภค : (ปุ.) การเข้าไปกิน, การใช้สอย, เครื่องใช้, เครื่องใช้สอย, เครื่องบริโภค. ไทยใช้ อุปโภค เป็นกิริยาว่า ใช้สอย กิน. ส. อุปโภค.
  6. อุปมา : (อิต.) การเปรียบ, การเปรียบเทียบ, ความเปรียบ, ความเปรียบเทียบ, อุปมา (เป็นไปใกล้ของความวัด). วิ. ยา อจฺจนฺ- ตาย น มิโนติ น วิจฺฉินฺทติ สา มาณาย สมีเป วตฺตตีติ อุปมา. อุปมียติ สทิสีกรียติ เอตายาติ วา อุปมา. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, กวิ, อ วา. ส. อุปมา.
  7. อุปมาน : (นปุ.) ความเปรียบ, ความเปรียบเทียบ. การเปรียบ, การเปรียบเทียบ, คำเป็นเครื่องเปรียบ, คำเป็นเครื่องเปรียบเทียบ, อุปมา, อุปมาน. วิ. อุปมียเต เยน ตํ อุปมานํ. รูปฯ ๕๒๐ วิ. อุปมียติ เอเตนาติ อุปมานํ. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ. อุปมาน ชื่อ ของการศึกษาอย่างหนึ่ง คือ การศึกษาจาก ข้อเท็จจริงที่เหมือนกันหลายอย่าง แล้วตั้งเป็นกฎเกณฑ์ขึ้น. ส. อุปมาน. อุปเมยฺย (ปุ.?) อุปไมย คือสิ่งที่จะหาสิ่งอื่น มาเปรียบเทียบได้ สิ่งที่เปรียบได้. ส. อุปเมย.
  8. อุปรชฺช : นป. ความเป็นอุปราช
  9. อุปวชฺชตา : อิต. ความเป็นผู้ควรว่าร้าย, ความเป็นผู้ควรตำหนิ
  10. อุปวตฺตติ : ก. เป็นไป, เป็นไปตาม, เกิดขึ้น, ประพฤติตาม
  11. อุปวตฺตน : ค. อันเป็นไป, อันเป็นที่แวะพัก
  12. อุปสคฺค : (ปุ.) อันตรายเครื่องเข้าไปข้องอยู่, อันตรายเข้าไปขัดข้องอยู่, อันตรายเข้าไป ขัดข้อง, อันตรายเครื่องขัดข้อง, อันตราย เครื่องขัดขวาง, สิ่งที่เข้าไปขัดข้อง, สิ่งที่ เข้าไปขัดขวาง, สิ่งที่กีดขวาง, อันตราย, จัญไร (ความเป็นเสนียด). วิ. อุปคนฺตวา สชติ ปกาเสตีติ อุปสคฺโค. อุปปุพฺ โพ, สชฺ วิสชฺชนาทีสุ, โณ. ไวยากรณ์เรียกคำ ชนิดหนึ่งสำหรับ นำหน้านามและกิริยาให้วิเศษขึ้น มี อติ เป็นต้น ว่า อุปสรรค. ส. อุปสรฺค.
  13. อุปสม : (ปุ.) ธรรมเป็นที่เข้าไปสลบ, ธรรมเป็นที่เข้าไประงับ, การเข้าไปสงบ, การเข้าไประงับ, ความเข้าไปสงบ, ความสงบ, ความระงับ, ความเงียบ. อุปปุพฺโพ, สมฺ อุปสเม, อ.
  14. อุปสมฺปทา : (อิต.) การถึงพร้อมในธรรมเบื้อง บน (สูง). อุปริ+สมฺปทา ลบ ริ. การถึง พร้อม, การเข้าถึงพร้อม, การยังกุศลให้ถึง พร้อม. อุป+สํ+ปทา, การอุปสมบท (บวช เป็นภิกษุ). ส. อุปสมฺปทฺ.
  15. อุปสฺสย : (ปุ.) วิหารเป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่. อุปปุพฺโพ, สี สเย, อ, ซ้อน สฺ.
  16. อุปาติวตฺต : กิต. ล่วงไปแล้ว, เป็นอิสระแล้ว
  17. อุปาติวตฺตติ : ก. เป็นไปล่วง, ล่วงพ้น
  18. อุปาทาน : (นปุ.) การถือมั่น การยึดมั่น (ในสิ่งนั้น ๆ), การยึดไว้, ความถือมั่น, ฯลฯ, ธรรมชาติเป็นเครื่องเข้าไปถือเอา, ของกำนัล ที่ส่งไปให้, เชื้อ, เชื้อไฟ, ฟืน. อุป อา ปุพฺโพ, ทา ทานอาทาเนสุ, ยุ. ส. อุปทาน. อุปาทานกฺขนฺธ
  19. อุปาทิ : (อิต.) ธรรมชาติอันตัณหาเป็นต้นถือ เอาสภาวะเป็นผลของตน, ธรรมชาติอันตัณหาเป็น ต้นเข้าไปถือเอา,ธรรมชาติผู้เข้าไปถือเอา (ขันธปัญจกะ), สังโยชน์. อุป อา ปุพฺโพ, ทา อาทาเน, อิ.
  20. อุปาทิเสส : (วิ.) มีอุปาทิเป็นส่วนเหลือ, คือ ยังมีเบญจขันธ์เหลืออยู่.
  21. อุปายโกสลฺล : นป. ความเป็นผู้ฉลาดในอุบาย
  22. อุปาสก : (ปุ.) ชนผู้นั่งใกล้พระรัตนตรัย, ชน ผู้นับถือพระรัตนตรัยเป็นสรณะ, อุบาสก (คนผู้ชายผู้นับถือพระพุทธศาสนา). วิ. รตนตฺตยํ อุปาสตีติ อุปาสโก. อุปปุพฺโพ, อาสฺ อุปเวสเน, ณฺวุ. ส. อุปาสก.
  23. อุปาสิกา : (อิต.) หญิงผู้นั่งใกล้พระรัตนตรัย, หญิงผู้นับถือพระรัตนตรัยเป็นสรณะ, อุบาสิกา (หญิงผู้นับถือพระพุทธศาสนา). ส. อุปาสิกา.
  24. อุโปสถทิวส : (ปุ.) วันอุโบสถ คือวันขึ้น ๑๕ ค่ำ แรม ๑๕ ค่ำ หรือแรม ๑๔ ค่ำ สำหรับเดือนขาด เป็นวันที่พระสงฆ์ลง อุโบสถฟังสวดพระปาติโมกข์ สำหรับ อุบาสกอุบาสิกา คือวันขึ้น ๘ ค่ำ ๑๕ ค่ำ แรม ๘ ค่ำ ๑๕ ค่ำ หรือแรม ๑๔ ค่ำ สำหรับเดือนขาด เป็นวันรักษาศีลฟัง ธรรม.
  25. อุพฺพิลาวิตตฺต : นป. ความเป็นผู้เบิกบานใจ, ความชื่นบาน
  26. อุพฺเพชนิย อุพฺเพชนีย : (วิ.) เป็นที่ตั้งแห่ง ความหวาดเสียว, ฯลฯ.
  27. อุพฺภิท : (ปุ.) อุพภิทะ ชื่อเกลืออย่างที่ ๔ ใน ๕ อย่าง เป็นเกลือที่เกิดในนาเกลือชื่อ รุมะ ในสัมพรี- ประเทศ, เกลือ.
  28. อุมงฺค อุมฺมงฺค : (ปุ. นปุ.) ช่องเป็นที่ไปใน เบื้องต่ำ, ทางใต้ดิน, ท่อน้ำ, อุมงค์, อุโมงค์. อโธปุพฺโพ, มคิ คติยํ, อ, ธโลโป, อสฺสุ. ศัพท์หลังซ้อน มฺ.
  29. อุมฺมาทน : ค. ซึ่งเป็นบ้า
  30. อุมฺมาทนา : อิต. ความเป็นบ้า, ความวิกลจริต
  31. อุยฺยาน : (นปุ.) สวนเป็นที่แลดูในเบื้องบนไป, สวนเป็นที่แหงนดูเดินไปพลาง, สวนเป็น ที่รื่นรมย์, สวน, สะตาหมัน (สวน), ป่า, ป่าของพระราชา (ใช้ได้ทั่วไป), อุทยาน, พระราชอุทยาน, สวนหลวง. วิ. สมฺปนฺน- ทสฺสนียปุปฺผผลาทิตาย อุลฺโลเกนฺตา ยนฺติ ชนา เอตสฺมินฺติ อุยฺยานํ. ส. อุทฺยาน.
  32. อุยฺยานวนฺต : ค. มีสวนเป็นที่น่ารื่นรมย์
  33. อุร : (ปุ. นปุ.) อก, ทรวง (อก), ทรวงอก (ใช้ในคำกลอน), ชีวิต. อรฺ คมเน, อ, อสฺสุกาโร (แปลง อ อักษรเป็น อุ อักษร). โมคฯ ตั้ง อุสฺ ทาเห. ร ปัจ. ลบ สฺ อธิบายว่า อันความโศกเผาอยู่. บาลีไวยา- กรณ์เป็น ปุ. ส. อุรศฺ อุรสฺ.
  34. อุรุเวลกสฺสป : (ปุ.) อุรุเวลกัสสป ชื่อชฏิลผู้ เป็นพี่ใหญ่ แห่งชฏิลสามพี่น้อง ภายหลัง เลื่อมใสในพระพุทธศาสนาและขอบวช.
  35. อุโลก อุลฺโลก : (นปุ.) ที่เป็นที่แลขึ้น, เพดาน. อุปุพฺโพ, โลกฺ ทสฺสเน, อ.
  36. อุสภ : (วิ.) องอาจ, เจริญ, ยิ่ง, เลิศ, ล้ำเลิศ, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด, ผู้ เป็นคำ วิเสสนะ บอกว่าเป็นเพศชาย ที่ใช้คู่กับคำ ว่า เมีย ซึ่งเป็นคำวิเสสนะ บอกว่าเป็นเพศ หญิง. ส. ฤสภ.
  37. อุสฺสว : (ปุ.) มหรสพเป็นที่คายเสียซึ่งความเร่าร้อน. วิ. อุสํ วมนฺติ อุคฺคิรนฺติ อตฺราติ อุสฺสโว. อุสปุพฺโพ, วมุ อุคฺคิรเณ, กฺวิ. มหรสพเป็นที่ฟังไกล วิ. นานาสมิทฺธีหิ สวนฺติ เอตฺถาติ อุสฺสโว. อุปุพฺโพ, สุ สวเน, โณ.
  38. อุสฺสารณา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังบุคคลให้ ลุกขึ้นแล่นไป, หวายเป็นเครื่องยังบุคคลให้ลุก ขึ้นแล่นไป.
  39. อุสฺสีสก : (วิ.) อันเป็นไปในเบื้องบนแห่งศรีษะ, อันเป็นเบื้องบนแห่งศรีษะ (หัว นอน).
  40. อุสฺสีสกปสฺส : (นปุ.) ข้างอันเป็นไปในเบื้อง บนแห่งศรีษะ, ข้างหัวนอน.
  41. อุสฺสุกิต : ค. ผู้ขวนขวาย, มักใช้ในรูปปฏิเสธเป็น อนุสฺสุกิต ไม่ขวนขวาย
  42. อุสฺสุยิตตฺตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนริษยา, ความเป็นแห่งคนขึ้งเคียด, ฯลฯ.
  43. อุสฺสูรเสยฺยา : (อิต.) การนอนมีพระอาทิตย์ ในเบื้องบน, การนอนสาย (ตื่นนอนสาย), ความเป็นคนนอนสาย (ตื่นสาย), ความเป็นผู้นอนสาย.
  44. อุสฺเสเนติ : ก. ชักมาใกล้ตัวเอง, เป็นมิตร
  45. อูนตฺต : (นปุ.) ความหย่อน, ฯลฯ. ตฺต ปัจ. สกัดให้เป็นนาม.
  46. อูสร : (ปุ.) ตำบลมีดินเค็ม. อูส ศัพท์ ร ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. อภิฯ เป็นไตรลิงค์. ส. อูษร. อูสวนฺตุ
  47. เอกกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) คราวเดียว, คราว หนึ่ง, ครั้งเดียว, ครั้งหนึ่ง, หนหนึ่ง. สัมพันธ์เป็นกิริยาวิเสสนะ, สิ้นคราวเดียว, ฯลฯ. กฺขตฺตํปัจ. ลงในวารอรรถรูปฯ ๔๐๓. สัมพันธ์เป็น อัจจันตสังโยค.
  48. เอกคฺค : (วิ.) มีอารมณ์เดียว (อคฺค คือ อารมณ์), มีอารมณ์เดียวเลิศ, มีอารมณ์ เลิศเป็นหนึ่ง, มีอารมณ์เป็นหนึ่ง, มี อารมณ์แน่วแน่, ไม่วุ่นวาย.
  49. เอกคฺคตา : (อิต.) ความเป็นแห่งจิตมีอารมณ์ เดียว, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีจิต แน่วแน่อยู่ในอารมณ์เดียว, ความที่แห่งจิต เป็นจิตมีอารมณ์เดียว (ไม่ฟุ้งซ่าน), ฯลฯ, สมาธิ, อัปปนาสมาธิ.
  50. เอกคฺคตาจิตฺต : (นปุ.) จิตมีอารมณ์เดียว, ฯลฯ, เอกัคคตาจิต (จิตแนบแน่นอยู่ในอารมณ์ เดียว จิตเป็นอัปปนา).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | [4101-4150] | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4363

(0.1376 sec)