Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นประจำ, ประจำ, เป็น , then ปน, ประจำ, เป็น, เป็นประจำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นประจำ, 4363 found, display 701-750
  1. ปถาวี ปถิก : (ปุ.) คนไปในหนทาง, คนไปสู่ หนทาง, คนเดินทาง วิ. ปเถ ปถํ วา คจฺฉตีติ ปถาวี. วี ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ถ เป็น อา. อภิฯ ลง วี ปัจ.รูปฯ และ โมคฯ ลง อาวี ปัจ. ศัพท์ หลัง วิ. เหมือน ปถาวี. อภิฯ ลง อิก ปัจ.รูปฯ ลงณิก ปัจ.
  2. ปทร : (ปุ.) ลำธาร, ระแหง, ไม้เลียบ, กระดาน, ซอกศิลาใหญ่, ถ้ำใหญ่, การแตก, การทำลาย. ปปุพฺโพ, ทรฺ วิทารเณ, อ. เป็น นปุ. บ้าง.
  3. ปทวี : (อิต.) ทาง, หนทาง. วิ. ปทติ เอตฺถาติ ปทวี. ปทฺ คติยํ, อโว, อิตถิยํ อี. เป็น ปทวิ บ้าง. ส. ปทวิ.
  4. ปเทส : (ปุ.) การเหยียดนิ้วหัวแม่มือและ นิ้วกลางออกให้ตรง, คืบ ชื่อมาตราวัด ระยะแบบโบราณ ๑๒ นิ้ว เป็น ๑ คืบ. ปปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, โณ.
  5. ปธวี : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน. ปุถฺ วิตฺถาเร, กฺวิ. แปลง ปุถฺ เป็น ปุถุ แปลง อุ เป็น อว แปลง อุ ที่ ปุ เป็น อ แปลง ถ เป็น ธ อี อิต. รูปฯ ๖๖๐.
  6. ปนฺต : (วิ.) สุด, หลัง, เสร็จ, สงัด.ปปุพฺโพ, อมฺ คติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบที่สุดธาตุ.
  7. ปนฺนรส : (ไตรลิงค์ ) สิบห้า แปลง ปญฺจ เป็น ปนฺน. ดู ปณฺณรส ประกอบ.
  8. ปนูทน : (นปุ.) การบรรเทา, การเคลื่อน, การถอนออก, ความบรรเทา, ฯลฯ, ยุ ปัจ. เป็น ปนุทน โดยไม่ทีฆะบ้าง.
  9. ปปิตามห : (ปุ.) ปู่ทวด, ตาทวด, วิ. ปิตามหโต ปโร ปปิตามโห. ปิตุโน ปิตามโห วา ปปิตามโห. ปิตุ + ปิตามห ลบ ตุ แปลง อิ เป็น อ.
  10. ปปุตฺต : (ปุ.) หลาน ( ลูกของลูกชายหรือลูก ของลูกสาว ) , หลานชาย. วิ. ปุตฺตสฺส ปุตฺโต ปปุตฺโต. ลบ ตฺต ของศัพท์หน้า และแปลง อุ เป็น อ.
  11. ปปุนฺนาฏ : (ปุ.) ชุมเห็ด ชื่อต้นไม้รักษาหิด วิ. ปกาเรน ททฺทุ ปุนาตีติ ปปุนฺนาโฏ. ปการปุพฺโพ, ปุ ปวเน, อโฏ, นิคฺคหิตา คโม, การโลโป. ลง นา ปัจ. ประจำ หมวดธาตุและ อฏ ปัจ.
  12. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  13. ปพฺพต : (ปุ.) เขา ( เนินที่สูงขึ้นเป็นจอมเด่น ), ภู ( เขา เนินที่สูงขึ้นเป็นจอม ), ภูเขา. เวสฯ ๗๔๐ และอภิฯ วิ. สนฺธิสํขาเตหิ ปพฺเพหิ จิตฺตตา ปพฺพํ อสฺส อตฺถีติ ปพฺพโต. ต ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. หรือตั้ง ปพฺพฺ ปูรเณ, โต, ออาคโม. เป็น ปพฺพตานิ โดยเป็น ลิงควิปลาส บ้าง.
  14. ปพิ : (อิต.) ลิ่ม. ปุ คติยํ, ณิ. แปลง อุ เป็น อว.
  15. ปภงฺคุณ : (วิ.) เปื่อยเน่า, เปื่อยผุ, ผุพัง, ย่อยยับ. ปปุพฺโพ, ภญฺชฺ อวมทฺทเน, อุโณ. แปลง ชฺ เป็น คฺ แปลง ญฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ หรือแปลง ญฺ เป็น งฺ ก็ได้.
  16. ปภุ : (ปุ.) ชน, คน, บุคคล. ปปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, อ. รัสสะ อู เป็น อุ.
  17. ปภู : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นประธาน. ปปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, อู, กฺวิ วา. ฎีกาอภิฯ ลง อุ ปัจ. เป็น ปภุ.
  18. ปมทวน : (นปุ.) สวนนางข้างใน ( สวนหลวง ทรงให้สร้างขึ้นเพื่อนางข้างใน ไม่ใช่เป็น ที่เที่ยวของชนอื่น ) วิ. ปมทานํ วนํ ปมทาวนํ. รัสสะ อา ที่ ทา เป็น อ.
  19. ปมทา : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง, นาง. วิ. วิรูเปสุปี มโท ราคมโท ยสฺสา สา ปมทา. ปกฏฺโฐ วา มโท รูปโสภคฺคชนิโต เจโตวิ กาโร ยสฺสา สา ปมทา. เป็น ปมุทา บ้าง.
  20. ปมาตุ : (อิต.) มารดาของมารดา, แม่ของแม่, ยาย. มาตุ + มาตุ ลบ ต ศัพท์หน้า รัสสะ อา เป็น อ แปลง ม เป็น ป.
  21. ปมิติ : (อิต.) การนับ, ฯลฯ. ปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ติ. แปลง อา เป็น อิ.
  22. ปมุกฺก : (ปุ.) ความพ้น, ความหลุดพ้น, ความปลดเปลื้อง. ปปุพฺโพ, มุจฺ วิโมกฺเข, โก. แปลง จฺ เป็น กฺ.
  23. ปเมยฺย : (วิ.) นับได้, ประมาณได้. ปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, โณฺย. แปลง ณฺย กับ อา เป็น เอยฺย.
  24. ปย : (ปุ.) นม (นมสด), น้ำ, น้ำนม, วิ. ปาตพฺพนฺติ ปโย. ปา ปาเน, โณ. แปลง อา เป็น อิ อิ เป็น เอ เอ เป็น อย หรือ ตั้ง ปยฺ คติยํ, อ.
  25. ปยฺยก : (ปุ.) ปู่ทวด, ตาทวด, ปู่ชวด, ตาชวด. วิ. ปิตุโน อยฺยโก ปยฺยโก. ลบ ตุ แปลง อิ เป็น อ. หรือ อยฺยกโต ปโร ปยฺยโก. ลบ ร แล้วแปร ป ไว้หน้า อภิฯ และ รูปฯ๓๓๖. หรือ ปคโต อยฺยโก ปยฺยโก. ลบ คต.
  26. ปยฺยกา ปยฺยิกา : (อิต.) ย่าทวด, ยายทวด, ย่า ชวด, ยายชวด. วิ. มาตุยา อยฺยกา อยฺยิกา วา ปยฺยกา ปยฺยิกา. ลบ ตุ รัสสะ อา เป็น อ แปลง ม เป็น ป.
  27. ปยุชฺชน ปยุญฺชน : (นปุ.) การประกอบ, ความประกอบ, ความประกอบยิ่ง. ปปุพฺโพ, ยุชฺ โยเค, ยุ. แปลง ช เป็น ชฺช ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม.
  28. ปโยค : (ปุ.) การประกอบ, ฯลฯ, การประกอบเข้า, ความพยายามเป็นเครื่องประกอบ, ความพยายาม, ฯลฯ, ประโยคเป็นชื่อของคำพูดที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่งๆ อย่าง ๑ เป็นชื่อของความรู้เช่นเปรียญธรรม ๓ ประโยค อย่าง ๑ เป็นชื่อของการทำทางกายทางวาจา เรียกว่า กายประโยค วจีประโยค อย่าง ๑ วิ. ปยุชฺชนํ ปโยโค. ป+ยุชฺ+ณ ปัจ. แปลง ช เป็น ค. ส. ปฺรโยค.
  29. ปโยท : (ปุ.) เมฆ (ให้น้ำ ). ปย+ท แปลง อ ที่ ย เป็น โอ.
  30. ปรณฺณ : (นปุ.) พืชอื่นจากข้าว ( คือถั่ว ), ถั่ว ( ต่างๆ ). ปร+อนฺน แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
  31. ปรทตฺต : (วิ.) ผู้อันบุคคลอื่นให้แล้ว วิ. ปเรหิ ทินฺนํ ปรทตฺตํ. แปลง ทินฺน เป็น ทตฺต.
  32. ปรปุฏฺ : (ปุ.) นกกระเหว่า ชื่อนกผู้อันนกกา ฟักจนคลอดจากไข่เลี้ยงไว้ ( ระยะที่ยังบิน ออกไปไม่ได้ ). วิ. ปเรน วิชาติเยนกาเกน โปสิโตติ ปรปุฏฺโฐ. ปรปุพฺโพ, ปุสฺโปสเน, โต. แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบที่สุดธาตุ.
  33. ปรภต : (ปุ.) นกกระเหว่า.วิ. เหมือน ปรปุฏฺฐ. เป็นแต่เปลี่ยน โปสิโต เป็น ภโต ภรฺ โปสเน, โต. ลบที่สุดธาตุ.
  34. ปรา : (อัพ. อุปสรรค) เสื่อม, ฉิบหาย, กลับความคือนำหน้าธาตุแล้ว ทำให้ธาตุนั้นมีความกลับกันจากเดิม อุ. ชิต ชนะแล้ว ลง ปรา เป็น ปราชิต แพ้แล้ว เป็นต้น.
  35. ปราค : (ปุ.) ละอองเกิดแต่ดอกไม้, ละออง ดอกไม้, เกสรดอกไม้. วิ. ปุปฺผโช รโช ปุปฺผธุลิ ปราโค. ลบ ปฺผช แปลง อุ เป็น อ ทีฆะ อ ที่ ร แปลง ช เป็น ค. ฝุ่น, ละออง, ผงหอม, จันทน์หอม.
  36. ปริจาค ปริจฺจาค : (ปุ.) การสละ, การให้, การให้ปัน, การสละให้, การเสียสละ. ปริปุพฺโพ, หา จาเค, โณ, เท๎วภาวะ หา รัสสะเป็น ห แปลง ห,ห เป็น จ,ค หรือ ตั้ง จชฺ จาเค ศัพท์หลังซ้อน จฺ โมคฯ ลง ฆณฺ ปัจ. ส. ปริตฺยาค.
  37. ปริฑยฺห : (ปุ.) ความเร่าร้อน. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, อ, ยุ. ลง ยฺ อาคมในท่ามกลางแปลง ท เป็น ฑ.
  38. ปริฑยฺหน : (นปุ.) ความเร่าร้อน. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, อ, ยุ. ลง ยฺ อาคมในท่ามกลางแปลง ท เป็น ฑ.
  39. ปริณต ปรินต : (วิ.) น้อมไปโดยรอบ, แปรไป, เปลี่ยนแปลง, คร่ำคร่า, แก่, แก่จัด, แก่เฒ่า, ปริ+นมฺ+ต ปัจ. ลบที่สุดธาตุ ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
  40. ปริณายก ปรินายก : (ปุ.) คนผู้นำบริวาร, คนผู้ เป็นหัวหน้าบริวาร, ปริวารปุพฺโพ, นิ นเย, ณฺวุ. คนผู้เป็นหัวหน้า, คนผู้เป็นใหญ่.ปริ ปุพฺโพ, นิ นเย, ณฺวุ. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
  41. ปริตฺตาณ : (นปุ.) พุทธมนต์เป็นเครื่องต้านทาน, ความต้านทาน, ความป้องกัน, ความรักษา, ความรักษาโดยรอบ, พุทธมนต์เป็นเครื่อง รักษาโดยรอบ ( ทุกด้าน ). ปริ+ ตา+ณ ปัจ. ไม่ลบ ณ หรือลง ยุ ปัจ. แปลงเป็น อน แปลง น เป็น ณ ซ้อน ตฺ.
  42. ปริทฺทว ปริเทว : (ปุ.) การร้อง, การร้องไห้, ร่ำไร, การร้องไห้ร่ำไรรำพัน, การรำพัน, การพิไรรำพัน, การบ่นเพ้อ, การคร่ำครวญ ความร้องไห้, ฯลฯ, เทวษ. ปริปุพฺโพ, เทวฺ เทวเน, อ, ยุ. แปลงปริเทว เป็น ปริทฺทว. ปริเทโว เอว ปริทฺทโว.
  43. ปริเทวน : (นปุ.) การร้อง, การร้องไห้, ร่ำไร, การร้องไห้ร่ำไรรำพัน, การรำพัน, การพิไรรำพัน, การบ่นเพ้อ, การคร่ำครวญ ความร้องไห้, ฯลฯ, เทวษ. ปริปุพฺโพ, เทวฺ เทวเน, อ, ยุ. แปลงปริเทว เป็น ปริทฺทว. ปริเทโว เอว ปริทฺทโว.
  44. ปริเทวนา : (อิต.) การร้อง, การร้องไห้, ร่ำไร, การร้องไห้ร่ำไรรำพัน, การรำพัน, การพิไรรำพัน, การบ่นเพ้อ, การคร่ำครวญ ความร้องไห้, ฯลฯ, เทวษ. ปริปุพฺโพ, เทวฺ เทวเน, อ, ยุ. แปลงปริเทว เป็น ปริทฺทว. ปริเทโว เอว ปริทฺทโว.
  45. ปริเทวิตตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่ง...เป็นผู้ ร้องไห้แล้ว, ฯลฯ. ปริเทวิต+ตฺต ปัจ. แปล ปริเทวิต เป็น กิริยากิตก์. ความเป็น แห่ง...เป็นผู้ร้องไห้, ฯลฯ. แปล ปริเทวิต เป็นนาม.
  46. ปุพฺพณฺณ : (นปุ.) ของที่กินก่อน, ปุพพัณชาต. ปุพพัณชาต ได้แก่ ธัญชาติ ๗ อย่าง คือ. ๑. สาลี ข้าวไม่มีแกลบ ๒. วีหิ ข้าวเปลือก ๓. กุทฺรุสโก หญ้ากับแก้ ๔. โคธุโม ข้าวละมาน ๕. วรโก ลูกเดือย ๖. ยโว ข้าวเหนียว และ ๗. กงฺคุ ข้าวฟ่าง. ไตร ๓๐ ข้อ ๗๖๒. วิ. อปรนฺนสฺส ปุพฺเพ ปวตฺตํ อนฺนํ ปุพฺพนฺนํ. แปลง นฺน เป็น ณฺณฺ อภิฯ เป็น ปุพฺพนฺน.
  47. ปุพฺพณฺห : (นปุ.) เบื้องต้นแห่งวัน, เวลาอันเป็นเบื้องต้นแห่งวัน, เวลาเช้า. อหสฺส ปพฺพํ ปุพฺพณฺหํ. อหสฺส อณฺหภาโว (แปลง อห เป็น อณฺห).
  48. ปุพฺพรตฺต : (นปุ.) กาลก่อนแห่งราตรี วิ. รตฺติยา ปุพฺพํ ปุพฺพรตฺตํ. แปลง รตฺติ เป็น รตฺต รูปฯ ๓๓๖.
  49. ปุรกฺข : (วิ.) กระทำในเบื้องหน้า, ห้อมล้อม, ผู้อภิเษกแล้ว (พระราชา...). ปุรปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ. แปลง กรฺ เป็น ข ซ้อน กฺ.
  50. ปุรินฺทท : (ปุ.) ปุรินททะ ชื่อขอพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. ปุเร ปุริมํ วา ททาตีติ ปุรินฺทโท. ปุเร ทานํ อททีติ วา ปุรินฺทโท. ปุรปุพฺโพ, ททฺ ทาเน, อ. แปลง อ ที่ ร เป็น อึ เป็น ปุรึ เอานิคคหิตเป็น นฺ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | [701-750] | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4363

(0.1275 sec)