Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นประจำ, ประจำ, เป็น , then ปน, ประจำ, เป็น, เป็นประจำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นประจำ, 4363 found, display 851-900
  1. ภิสน : (วิ.) น่ากลัว, น่าหวาดเสียว, น่าสะดุ้ง, น่าสพึงกลัว. ภี ภเย, ยุ. รัสสะ อี เป็น อิ นิคคหิตอาคม. และ สฺ อาคม หรือ ลง รึสน ปัจ. หรือ ภิสิ ภเย.
  2. ภิสีล : (วิ.) ขลาด, กลัว, ขี้ขลาด. วิ. ภี ภยํ สีโล ยสฺสโส ภิสีโล. เป็น ภีสีล โดยไม่รัสสะบ้าง.
  3. ภึส ภึสร : (นปุ.) ราก, เหง้า, รากบัว, เหง้าบัว. วิสฺ เปรเณ, อ, อโร, นิคฺคหิตาคโม. แปลง วิ เป็น ภิ.
  4. ภุจฺจ : (นปุ.) ความเป็นจริง. ภูต+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ แปลง ตยฺ เป็น จฺจ.
  5. ภุชปตฺต : (ปุ.) ไม้เสม็ด, ไม้แสม, ไม้ราชดัด. วิ. ภุโช ปาณิ, ตํสทิสปตฺตตาย ภุชปตฺโต. เป็น ภูชปตฺต บ้าง.
  6. ภุชิสฺส : (ปุ.) ความเป็นอิสระ, ความเป็นไทย. ภุชฺ ปาล-เน, อิโส. แปลง ส เป็น สฺส.
  7. ภุป ภุภุช : (ปุ.) พระยา, พระเจ้าแผ่นดิน. ภู+ปา ธาตุ ภุชฺ ธาตุในความรักษา รัสสะ อู เป็น อุ.
  8. ภุวน : (นปุ.) โลก, ฯลฯ, ฐานะ. ภู สติตายํ, ยุ. แปลง อู เป็น อุว ยุ เป็น อน รูปฯ ๖๓๕. เป็น ภูวน ก็มี.
  9. ภุส : (วิ.) กล้า, มีกำลัง, ล้ำ (ยิ่ง), ดี, ดียิ่ง, ใหญ่ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, เลิศ, ประเสริฐ. ภสฺ วิปุลเน, อ, อสฺสุ. เป็น ภูส. บ้าง.
  10. ภูติณ ภูติณก ภูตินก : (นปุ.) ตะไคร้ วิ. ภูมิยํ ลคฺคํ ติณํ ภูติณกํ วา ภูตินกํ วา. สองศัพท์หลัง ก สกัด ศัพท์ที่ ๓ แปลง ณ เป็น น.
  11. เภณฺฑิ : (อิต.) ฉมวก ชื่อเครื่องมือสำหรับแทงปลาเป็นต้น ทำเป็น ๓ ง่ามบ้าง ๕ ง่ามบ้าง ปลายง่ามแหลมและมีเงี่ยงเหมือนเบ็ดมีด้ามยาว. ภิทิ วิทารเณ, อิ. แปลง ท เป็น ฑ นิคคหิตอาคม แปลงเป็น ณฺ แปลง อิ ที่ ภิ เป็น เอ.
  12. เภริ : (นปุ.) กลอง, เภรี, ไภรี, ไภริน. วิ. ภายนฺติ สตฺต-ชนา เอเตนาติ เภริ. ภี ภเย, วิ. เป็น อิต. ก็มี.
  13. โภต โภตี : (วิ.) ผู้เจริญ. ภู สตฺตายํ. อนฺต ปัจ. เป็น ภวนฺต แปลงเป็น โภต ศัพท์หลังลง อี อิต.
  14. มกร : (ปุ.) มังกร ชื่อสัตว์ในนิยายของจีน มีรูปร่างคล้ายงู แต่มีตีนมีเขา ชื่อดาวราสีที่ ๑๐. วิ. ปาณิคฺคหเณ มุขํ กิรตีติ มกโร. มุขปพฺโพ, กิรฺ วิกิรเณ, อ. ลบ ย แปลง อุ เป็น อ อิ ที่ กิ เป็น อ. เป็น มงฺกร บ้าง.
  15. มคฺคผลนิพฺพานสุข : (นปุ.) สุขอันเกิดแล้วแต่มรรคและสุขอันเกิดแล้วแต่ผลและสุข คือพระนิพพานง เป็น อ. ทวัน. มี ปญฺจ. ตัป.,ปญฺจ.ตัป. และ อว.กัม. เป็นภายใน.
  16. มฆวนฺตุ : (ปุ.) มฆวัน มฆวา มฆวาน ท้าวมฆวาน มฆวะ เป็นชื่อของพระอินทร์ทุกคำ วิ. มหิตพฺพตฺตา มฆวา. มหฺ ปูชายํ, วนฺตุ, หสฺส โฆ. เป็น มฆวนฺตุ ลง สิปฐมา วิภัติ เอา นฺตุ กับ สิ เป็น อา สำเร็จรูปเป็น มฆวา.
  17. มจฺจ : (ปุ.) สัตว์มีอันจะพึงตายเป็นสภาพ, สัตว์มีความที่แห่งตนจะพึงตายเป็นสภาพ, ชาย, บุคคล, คน, สัตว์. วิ. ปริตพฺพสภาว-ตาย มจฺโจ. มรติ วา มจฺ-โจ. มรฺ ปาณจาเค, โจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ ลง ตฺย ปัจ. แปลงเป็น จ ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  18. มจฺจุ : (ปุ.) ความตาย วิ. มรณํ มจฺจุ. จุ ปัจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือลง ตฺยุ ปัจ. แปลงเป็น จุ ซ้อน จฺ หรือแปลง ตฺยุ เป็น จฺจุ อภิฯ รูปฯ ๖๔๔.
  19. มจฺฉพนฺธ : (ปุ.) บุคคลผู้จับซึ่งปลา, ชาวประมง. วิ. มจฺเฉ พนฺธติ ชาเลนาติ มจฺฉพ-นฺโธ. มจฺฉปุพฺโพ, พนฺธฺ พนฺธเน, อ. คนผู้ฆ่าปลา, ชาวประมง, พรานปลา. วิ. มจฺเฉ วธตีติ มจฺฉพนฺโธ. หนฺ หึสายํ. ลง นิคคหิตอาคม แปลง หน เป็น วธ แปลง นิคคหิต เป็น นฺ ว เป็น พ.
  20. มจฺฉา : (ปุ.) ปลา วิ. มสติ ชลนฺติ มจฺโฉ (สัตว์ผู้ลูบคลำ คือว่ายในน้ำ). มสฺ อามสเน, โฉ. แปลง สฺ เป็น จฺ หรือตั้ง มรฺ ปาณ-จาเค, โฉ แปลง ฉ เป็น จฺฉ ลบ รฺ.
  21. มชฺช : (วิ.) อัน...พึงเมา วิ. มชฺฌิตพฺพนฺติ มชฺชํ. มทฺ อุมฺมาเท, โณฺย. แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  22. มชฺชวิกฺกยี : (ปุ.) คนขายเหล้า. มชฺช+วิ+กี ธาตุในความแลกเปลี่ยนด้วยทรัพย์ ณี ปัจ. แปลง อี เป็น เอ เอ เป็น อย ซ้อน กฺ.
  23. มชฺฌณฺห : (ปุ.) ท่ามกลางแห่งวัน, เที่ยงวัน, มัธยัณห์. วิ. อหสฺส มชฺโฌ มชฺฌ-โณฺห. แปลง อห เป็น อณฺห. เป็น มชฺฌนฺต โดยแปลง อห เป็น นฺต ก็มี.
  24. มชฺฌิมธมฺม : (ปุ.) ธรรมปานกลาง ได้แก่ กุศลธรรมและอัพยากตธรรมที่เป็นกามาสวะ เป็น กามาวจร รูปาวจร และ อรูปาวจร. ไตร. ๓๓.
  25. มญฺชรี : (อิต.) ช่อดอกไม้, ก้านดอกไม้. วิ. มญฺชุโยคโต มญฺชรี. ร ปัจ. แปลง อุ เป็น อ อี อิต.
  26. มญฺชุ : (ปุ.) อ่อน, อ่อนหวาน, เป็นที่ชอบใจ, ไพเราะ, กลมเกลี้ยง, งาม, สวย, ดีนัก. มนฺ ญาเณ, ชุ. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิต เป็น ญฺ หรือ วิ. มโน ชวติ อสฺมินฺติ มญฺชฺ. มน+ชุ ธาตุในความแล่นไป อุ ปัจ. อภิฯ และฎีกา ให้ลบ น?
  27. มญฺชูสา : (อิต.) กระโปรง, ลุ้ง, หีบ. วิ. มญฺญติ สธนตฺตํ เอตายาติ มญฺชูสา. มนฺ ญาเน, โส, ชู มชฺเฌ, อิตฺถิยํ อา. เป็น มญฺชุสา ก็มี.
  28. มญฺเชฏฺฐ : (ปุ.) แดง, สีแดง, สีแดงแก่, ฝาง, สีชมพู, หงสบาท, สีแดงฝาง, สีบานเย็น. เป็น มญฺเชฏฐก บ้าง.
  29. มฏฺฐ : (วิ.) เกลี้ยง, เลี่ยน, เตียน, ราบ, สะอาด, บริสุทธิ์, มชฺ สุทฺธิยํ, โต.แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบ ชฺ.
  30. มณิ : (ปุ. อิต.) แก้ว, แก้วมณี, รตนะ, เพชร, พลอย, เพชรพลอย. วิ. มนติ มหคฺฆภาวํ คจฺฉตีติ มณิ. มนฺ ญาเน, อิ, นสฺส ณตฺตํ. มียติ อาภรณํ เอเต-นาติ วา มณิ. มา มานเน, อิ, นฺ อาคโม, อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง อี ปัจ. เป็น มณี อีกด้วย. แปลว่า ดาบเพชร ก็มี. กัจฯ ๖๖๙ วิ. มนํ ตตฺถ รตเน นยตีติ มณิ. มณี ชื่อรตนะอย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง.
  31. มทฺทว : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนอ่อน, ณ ปัจ. ภาวทัต. ความอ่อน, ความอ่อน โยน. ณ อัจ. สกัด วิ. มุทุโน ภาโว มทฺทวํ. เอา อุ ที่ มุ เป็น อ เอา อุ ที่ ทุ เป็น อว แปลง ท เป็น ทฺท.
  32. มธุลฏฺฐ  มธุลฏฺฐกา : (อิต.) เถาแห่งชะเอม, ชะเอมเครือ. วิ. มธุรสภาเว ติฏฺ-ฐตีติ มธุลฏฺฐ มธุลฏฺฐกา. มธุรสภาว+ฐา ธาตุ อิ ปัจ. ลบ สภาว แปลง ร เป็น ล ซ้อน ฏฺ ศัพท์หลัง ก สกัด อา อิต.
  33. มนฺตน : (นปุ.) การปรึกษา, ฯลฯ. การกระซิบ, ความลับ, มนฺตฺ คุตฺตภสเน, ยุ. แปลง น เป็นเป็น มนฺตณ. บ้าง.
  34. มนฺทากิณี : (อิต.) มันทากิณี ชื่อสระใหญ่สระ ๑ ใน ๗ สระ, มนฺทปุพฺโพ, อกฺ คมเน, อินี. แปลง นี เป็น ณี เป็น มนฺทากินี โดยไม่แปลงก็มี.
  35. มนฺทาร : (ปุ.) มันทาระ ชื่อภูเขาข้างทิศปัจฉิม. มนฺท+อรฺ ธาตุในความไป ถึง เป็นไป ณ ปัจ. ฎีกาอภิฯ เป็น มนฺทร วิ. มนิทยติ สูริโย ยสฺมึ มนฺทโร. มนฺทปฺปโภ วา อรติ ยสฺมึ สูริโยติ มนฺทโร.
  36. มนุญฺญ : (วิ.) อันยังใจให้ฟูขึ้น, อันยังใจให้สูงขึ้น, อันยังใจให้ยินดีโดยยิ่ง, เป็นที่ชอบใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอใจ, เป็นที่ฟูใจ, เป็นที่เจริญใจ, ถูกใจ, พึงใจ, พอใจ, ประเสริฐ, เลิศ, งาม, ดี, ดีนัก. วิ. มนํ ญาเปตีติ มนุญฺญ. มนปุพฺโพ, ญปฺ โตสเน, กฺวิ. แปลง อ ที่ น เป็น อุ ลบ ปฺ ซ้อน ญฺ. มนํ อาภุโส โตเสตีติ วา มนุญฺญ. มนโส โตสนชนนํ วา มนุญฺญ.
  37. มมฺม : (วิ.) เป็นเหตุตาย, เป็นเครื่องตาย. วิ. มรนฺตฺยเนนาติ มมิมํ. มรฺ ธาตุ ม ปัจ. แปลง รฺ เป็น มฺ หรือ รมฺม ปัจ. ลบ รฺ และ ร.
  38. มยูร : (ปุ.) นกยูง, วิ. มหิยํ รวตีติ มยูโร. มหิ+อูร ปัจ. แปลง ห เป็น ย. หรือตั้ง มยฺ คติยํ, อูโร. เป็น มยุร บ้าง.
  39. มรณานุสฺสติ : (อิต.) ระลึกถึงซึ่งความตาย, ความนึกถึงความตาย, การนึกถึงความตาย. วิ. มรณานํ อนุสฺสติ มรณานุสฺสติ. เป็น ฉ. ตัป. รูปฯ ๓๓๖.
  40. มริยาท : (ปุ.) อาจาระ, มรรยาท, มารยาท (กิริยาที่ถือว่าเรียบร้อย). กฏ. วิ. ปริจฺฉินฺทิตฺวา อาทียเตติ มริยาทา. ปริ อาปุพฺโพ, ทา อาทาเน, อ. แปลง ป เป็น ม ยฺ อาคม. ศัพท์หลัง อา อิต. เป็น มาริยาทา ก็มี. ส. มรฺยาท.
  41. มลฺล มลฺลก : (ปุ.) คนปล้ำ, มวลปล้ำ, นักมวย. มถฺ วิโลฬเน, โล, ถสฺส ลาเทโส (แปลง ตฺ เป็น ลฺ). ศัพท์หลัง ก สกัด. รูปฯ ๖๔๒.
  42. มสารคลฺล : (นปุ.) แก้วลาย, แก้วตาแมว, เพชรตาแมว, แก้วที่เกิดในภูเขาชื่อ มสาระ. วิ. มสารคิริมฺหึ ชาตํ มสารคลฺลํ. ล ปัจ. แปลง ริ เป็น ลิ ลบ อิ. ไตร. ๓๐ ข้อ ๗๖๒ เป็น ปุ.
  43. มหลฺลกาล มหลฺลกกาล : (ปุ.) กาลแห่ง...เป็น...แก่.
  44. มหากนฺต มหากนฺท : (ปุ.) กระเทียม. ปลณฺฑกนฺทโต มหนฺตกนฺทตาย มหากนฺโท. ศัพท์ต้น แปลง ท เป็น ต.
  45. มหานส : (นปุ.) โรงมีวัตถุอันบุคคลพึงกินมาก, สถานที่หุง, โรงครัว, เรือนครัว, ครัว. วิ. มหนฺตานิ พหูนิ อสิตพฺพานิ ภวนฺติ เอตฺถาติ มหานสํ. มหนฺตปุพฺโพ, อสฺ ภกฺขเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อน แล้ว แปร น ไว้หน้า ส. และแปลง มหนฺต เป็น มหา.
  46. มหิส : (ปุ.) สัตว์ผู้บูชาเจ้าของ, สัตว์ผู้นอนบนแผ่นดิน, ควาย, กระบือ, กาสร. มหฺ ปูชายํ, อิโส. มหีปุพฺโพ วา, สี สเย, อ, รสฺโส. ลงนิคคหิตอาคม เป็น มหึส บ้าง. เป็น มหีส เพราะไม่รัสสะอี ก็มี.
  47. มาณิกา มานิกา : (อิต.) มาณิกา มานิกา ชื่อ ภาชนะสำหรับตวง รูปเหมือนราง. ๔ โทณะ เป็น ๑ มาณิกา, มานิกา.
  48. มาตงฺค : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. มหนฺตํ องฺคํ เอตสฺสาติ มาตงฺโค (สัตว์มีตัวใหญ่). มหนฺต+องฺค ลบ หนฺต แปลง อ ที่ ม เป็น อา.
  49. มาติก : (วิ.) มาข้างมารดา วิ. มาติโต อาคตํ มาติกํ (นามํ). ณิก ปัจ. มาตุ+โต ปัจ. ให้แปลง อุ เป็น อิ.
  50. มาตุ : (อิต.) แม่ วิ. ปุตฺตํ มาเนตีติ มาตา (รักลูก). มานฺ ปูชายํ, ราตุ. ปาตีติ วา มาตา (ดูดดื่ม ซาบซึ้งในลูก). ปา ปาเน, ตุ. แปลง ปา เป็น มา. ศัพท์ มาตุ นี้แปลว่า ยาย ก็ได้. มาตุมาตุ. อภิฯ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | [851-900] | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4363

(0.1222 sec)