Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นประจำ, ประจำ, เป็น , then ปน, ประจำ, เป็น, เป็นประจำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นประจำ, 4363 found, display 951-1000
  1. ยาวนฺตุ : (วิ.) มีปริมาณเท่าใด, มีประมาณเท่าใด. วิ. ยํ ปริมาณ มสฺสาติ ยาวนฺตํ. โมคฯ ลง อาวนฺตุ ปัจ. รูปฯ ๓๖๙ ลง วนฺตุ ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ย เป็น อา.
  2. ยาวส : (ปุ.) หญ้า, หญ้าสัตว์กิน, ฟ่อนหญ้า. ยุ มิสฺสเน, อโส. พฤทธี อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว.
  3. ยิฏฺฐ : (นปุ.) การบูชา, ฯลฯ. ยชฺ เทวปูชายํ, โต แปลง ต เป็น ฏฺฐ แปลง อ ที่ ย เป็น อิ ลบที่สุดธาตุ.
  4. ยุคล : (นปุ.) คู่. ยุชฺ โยเค, อโล. หรือตั้ง วิ. ยุ เค อลนฺติ ยุคลํ. แปลง ล เป็นเป็น ยุคฬ บ้าง.
  5. ยุทฺธ : (นปุ.) การต่อสู้กัน, การรบ, การรบพุ่ง, สงคราม. ยุธฺ สมปหาเร, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  6. ยุทฺธนา : (อิต.) การต่อสู้กัน, ฯลฯ ยุธฺ สมฺปหาเร, ยุ. แปลง ธ เป็น ทฺธ.
  7. ยุน ยูน : (ปุ.) ชายหนุ่ม, ชายรุ่น, คนหนุ่ม, คนรุ่น. ยุวศัพท์ แปลง อุว เป็น อุน, อูน รูปฯ ๖๔๙.
  8. ยูถิกา ยูธิกา : (อิต.) คัดเค้า, เข็ม, พุทธชาต. ยุธฺ หึสายํ, อิ, สตฺเถ โก, ทีโฆ. ศัพท์ต้น แปลง ธฺ เป็น ถฺ.
  9. ยูส : (ปุ.) แกง (จากมิลินทปัญหา), น้ำคั้น, น้ำคั้นจากลูกไม้. ยุสฺ หึสายํ, อ, ทีโฆ. เป็น นปุ. ก็มี.
  10. โยคฺค : (วิ.) อัน...พึงประกอบ. ยุชฺ โยเค, โณฺย. แปลง ชฺย เป็น คฺค.
  11. โยพฺพญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งเด็กหนุ่ม, ความเป็นแห่งเด็กสาว, ความเป็นแห่งคนหนุ่ม, ความเป็นแห่งเด็กรุ่นหนุ่ม, ความเป็นแห่งเด็กรุ่นสาว, ความเป็นแห่งคนรุ่นหนุ่ม ความเป็นเด็กหนุ่ม, ฯลฯ. ยุว+ณฺย ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ แปลง ณฺย เป็น ญฺญ.
  12. โยพฺพน : (นปุ.) ความเป็นแห่งเด็กหนุ่ม, ฯลฯ. ยุว+ณ ปัจ. พฤทฺธิ อุ เป็น โอ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ลบ ณฺ เหลือ อ นฺ อาคม รูปฯ ๓๗๒.
  13. รคา : (อิต.) รคา ชื่อธิดามาร ๑ ใน ๓ วิ. รญฺ ชนติ เอตายาติ รคา, รญฺชฺ ราเค, อ. ลบ ญฺ สังโยค แปลง ช เป็น ค อาอิต.
  14. รชฺช : (นปุ.) ความเป็นแห่งพระราชา, ความเป็นพระราชา, วิ. ราชิโน ภาโว รชฺชํ. ราช+ณยปัจ. รัสสะ อา เป็น อ ลบ อ ที่ ช ลบ ณฺ รวมเป็น รชฺย แปลง ย เป็น ช. ราชสมบัติ ราชอาณาเขต ก็แปล.
  15. รชฺชุ : (อิต.) เชือก, สาย, สายเชือก. วิ. รุนฺธติ เอเตนาติ รชฺชุ. รุธิ อา วรเณ, ชุ. เอา อุ ที่ รุ เป็น อ แปลงที่สุดธาตุเป็น ชฺ หรือลบที่สุดธาตุ ซ้อน ชฺ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด.
  16. รชฺชุก : (ปุ.) เชือก, สาย, สายเชือก. วิ. รุนฺธติ เอเตนาติ รชฺชุ. รุธิ อา วรเณ, ชุ. เอา อุ ที่ รุ เป็น อ แปลงที่สุดธาตุเป็น ชฺ หรือลบที่สุดธาตุ ซ้อน ชฺ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด.
  17. รชต : (นปุ.) เงิน วิ. รญฺชนฺติ ชนา เอตฺถาติ รชตํ. รญฺชฺ ราเค, อโต. แปลง ต เป็นเป็น รชฏ บ้าง.
  18. รชนี รชฺชนี : (อิต.) ค่ำ (เวลามืดตอนต้นของกลางคืน), เวลาค่ำ, เวลามืด, กลางคืน, ค่ำคืน, รัชนี. วิ. รญฺชนฺติ ราคิโน อตฺราติ รชนี. ยุ, อิตฺถยํ อี. ศัพท์หลังแปลง ช เป็น ชฺช.
  19. รณญฺชห : (วิ.) สละกิเลส, ละกิเลส. รณปุพฺโพ, หา จาเค, อ. เท๎วภาว หา รัสสะ แปลง ห เป็น ช ซ้อน ญฺ.
  20. ลุก อุลูก อุฬุก : (ปุ.) นกเค้า, นกเค้าแมว, นกฮูก, นกแสก, นกพิราบ. อุลฺ คเวสเน, อุโก, อู วา, สกตฺเถ โก. เป็น อุลฺลุก บ้าง. ส. อุลูก.
  21. สตฺต : (นปุ.) สาย, สายบรรทัด, ใย, ด้าย, เส้น, เส้นด้าย. สจฺ คติยํ, โต. แปลง จฺ เป็น ตฺ
  22. สนฺทสฺสน : (นปุ.) การแสดง, การชี้แจง. สํปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเน, ยุ. แปลง ทิส เป็น ทสฺส.
  23. สปฺปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้สงบแล้ว, สัปปุรุษ, สัปบุรุษ, สัตบุรุษ(คนสัมมาทิฏฐิ). วิ. สนฺโต ปุริโส สนปฺปุริโส, แปลง สนฺต เป็น ส ซ้อน ปฺ. ส. สตฺปุรุษ.
  24. สปาก : (ปุ.) แปลและวิเคราะห์เหมือน สปจ. แปลกแต่ลง ณ ปัจ. ทีฆะแปลง จ เป็น ก.
  25. สพฺพญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมหาส่วนเหลือมิได้, สรรเพชุดา (ออกเสียงว่าสันเพ็ดชุดา). วิ. สพฺพ ฺญฺญุตา. สพฺพ ฺญฺญู+ตาปัจ. รัสสะ อู เป็น อุ. รูปฯ ๓๗๑.
  26. สพฺพฺญฺญุตญาณ สพฺพญฺญุตฺตญาณ : (นปุ.) ความรู้แห่งความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความรู้แห่งความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ญาณแห่งความเป็นพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้. ว. สพฺพฺญฺญุตาย สพฺพฺญฺญุตฺตสฺส วา ญาณํ สพฺพฺญฺญุตญาณํ สพฺพ ฺญฺญุตต-ฺญฺาณํ วา. ศัพท์ต้น รัสสะ อา ที่ ตา เป็น อ. ญาณคือความเป็นแห่งพระสัพพัญญู วิ.สพฺพ ฺญฺญุตา เอว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺญุต ฺญฺาณํ. อถวา, สพฺพ ฺญฺญุตฺตํ เยว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺ-ญุตฺต ฺญฺาณํ.
  27. สพฺภ : (นปุ.) ความดีในสภา, ความสำเร็จในสภา. วิ. สภายํ สาธุ สพฺภํ ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. แปลง ภฺย เป็น พฺภ รูปฯ ๓๖๓.
  28. สภาว : (ปุ.) ภาวะของตน, ภาวะแห่งตน, ปกติของตน, ภาวะอันเป็นของมีอยู่แห่งตน, ความเป็นของแห่งตน, ความเป็นของตน, ความเป็นเอง, ความเป็นจริง, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวะ, วิ. สสฺส อตฺตโน สนฺโต สํวชฺชมาโน วา ภาโว สภาโว. สยํ วา ภาโว สภาโว. แปลง สยํ เป็น ส หรือลม ยํ.
  29. สมชฺชา : (อิต.) บริษัท, ภูมิที่ประชุม, สมัชชา(การประชุมเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ). วิ. สมชฺชนฺติ สํคจฺฉนฺติ มีลนฺตฺยสฺสนฺติ สมชฺชา. สํปุพโพ, อชฺ คมเน, อ, ชสฺส ทฺวิตฺตํ. อิตถิยํ อา. อภิฯ. สํปุพฺโพ, อญฺชฺ คติยํ, โณย. ลบ. ญฺสังโยค แปลง ชฺย เป็น ชฺช รูปฯ ๖๔๔. ส. สมชฺยา.
  30. สมฺณ : (ปุ.) สมณะ พระสมณะ(ผู้สงบ ผู้สงบระงับ). วิ. สเมติ สมียติ วา ปาปํ อเนนาติ สมโณ. สมุ อุปสเม, ยุ. แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุ เป็น ณ.
  31. สมตฺถ : (ปุ.) ความอาจ, ความองอาจ, ความสามารถ, สมตฺฤ สตฺติยํ, อ. สา สตฺติยํ วา, โถ. แปลง อา เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น ม ซ้อน ตฺ.
  32. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  33. สมฺปฏิจฺฉน : (นปุ.) การรับพร้อม, การรับ, การตอบรับ, การรับคำ, การรับอารมณ์. สํ ปฏปุพฺโพ, ฉทฺสํวรเณ, อ. แปลง ท เป็น น.
  34. สมฺปหุล สมฺพหุล : (วิ.) เจริญ, นักหนา, หนักหนา, มาก, มากพร้อม, มากด้วยกัน, มากมาย. วิ. สํ ปโหตีติ สมฺปหุลํ สมฺพหุลํ วา. สํ ป ปุพฺโพ. หุ สตฺตายํ, โล. ศัพท์หลัง แปลง ป เป็น พ.
  35. สมฺมท : (ปุ.) ความยินดี, ความรื่นเริง, ความบันเทิง. สํปุพฺโพ, มุท หาเส, อ. แปลง อุ เป็น อ. ส. สมฺมท.
  36. สมฺมทตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์โดยชอบ, เนื้อความโดยชอบ, อรรถโดยชอบ. วิ. สมฺมา อตฺโถ สมฺมทตฺโถ. รัสสะ อา เป็น อ ทฺ อาคม. ต. ตัป.
  37. สมฺมปปญฺญ : (วิ.) ผู้มีปัญญาโดยชอบ. เป็นภินนาธิกรณพหุพ. ผู้มีปัญญาชอบ. เป็น ฉ. พหุพ. แปล สมฺมา เป็นวิเสสนะของปญฺญา ว่า “ชอบ”.
  38. สมฺมปฺปญฺญา : (อิต.) ปัญญาชอบ. เป็นวิเสสนปุพ. กัม. ปัญญาโดยชอบ. เป็น ต. ตัป.
  39. สมฺมปฺปธาน : (นปุ.) ความเพียรอันบุคคลตั้งไว้แล้วโดยชอบ, ความเพียรอันบุคคลพึงตั้งไว้โดยชอบ, ความเพียรอันบุคคลตั้งไว้โดยชอบ, ความเพียรที่ตั้งไว้ชอบ. ต. ตัป. ความเพียรชอบ. วิเสสนบุพ. กัม. สมฺมา+ปธาน รัสสะ อา เป็น อ.
  40. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  41. สมิธา : (อิต.) เชื้อไฟ, ฟืน. วิ. สนฺต มคฺคึ เอธยติ อทฺธยตีติ สมิธา. สนฺตปุพฺโพ, อิธฺ วุฑฒิยํ, อ. แปลง สนฺต เป็น ส มฺ อาคม อา อิต. ส. สมิธ.
  42. สมีป : (วิ.) ใกล้, ใกล้เคียง. วิ. สํคโต อาโป ยสฺมึ ตํ สมีปํ, ลบ คน แปลงนิคคหิต เป็น ม อา เป็น อี.
  43. สมุนฺนทฺธ : (วิ.) ตั้งไว้เป็นกอง ๆ, บังเกิดเป็นกอง ๆ กัน. สํ อุป วิ ปุพฺโพ, อูหฺ ฐปเน, โต. แปลงนิคคหิต เป็น ม อิ เป็น ย วฺ เป็น พฺ รัสสะ อู เป็น อุ ยฺ อาคม แปลง ตฺ เป็น พฺห ลบที่สุดธาติ.
  44. สโมสร สโมสรณ : (นปุ.) การมารวมกัน, การมาร่วมกัน, การมาพร้อมกัน, การประชุมกัน, สโมสร(ที่สำหรับประชุมกัน ที่สำหรับประชุมคบค้ากัน). สํ อา ปุพฺโพ, สรฺ คติยํ, อ. ยุ. แปลง อา เป็น โอ.
  45. สฺยาม : (ปุ.) ประเทศเจริญ, ประเทศรุ่งเรือง(ด้วยความดี), สยาม(สะหยาม), ประเทศสยาม. ปัจจุบันคือ ประเทศไทย (เปลี่ยนเมื่อ พ.ศ.๒๔๘๓). สุ วุทฺธิยํ, อามปจฺจโย. แปลง อุ เป็น ย.
  46. สรท : (วิ.) ไม่แกล้วกล้า, ไม่กล้าหาญ, ไม่องอาจ, ไม่ว่องไว, ครั่นคร้าม. สุรปุพฺโพ, ทา เฉทเน, อ. แปลง อุ เป็น อ.
  47. สรพ สรว : (วิ.) เอ็ดอึง, ดังรั่น. สํปุพฺโพ, รุ สทฺเท, โณ. ลบนิคคหิต พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ศัพท์ต้นแปลง ว เป็น พ.
  48. สรูป : (นปุ.) รูปแห่งตน, รูปของตน. ส+รูป. รูปเหมือนกัน. สม+รูป. รูปอันมีอยู่, รูปมีอยู่. สภาวะ, ธรรมชาติ. สนฺต+รูป. แปลง สนฺต เป็น ส. ความสมควรแก่ภาวะของตน วิ. รูปสฺส ยถา สรูปํ. ส แทน ยถา. ไทย สรุป สรูป ใช้เป็นกริยาว่า รวมความมาย่อเอาแต่ประเด็นของเรื่อง ใช้เป็นนามในความว่า ประเด็นย่อ ๆ ของเรื่อง.
  49. สลฺลกฺขณ : (นปุ.) การกำหนดดี, การกำหนดด้วยดี, ลักษณะดี. เป็น สลฺลขณา สลฺลกฺขนา (อิต.) บ้าง.
  50. สลิล : (นปุ.) น้ำ วิ. สลตีติ สลิลํ. สลฺ คติยํ, อิโล. รูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. สลิล.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | [951-1000] | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4363

(0.1224 sec)