Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปา , then บา, , ปะ, ปา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปา, 4375 found, display 4351-4375
  1. อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ส่วน, แผนก, คอต่อ, มุม, องสา, องศา, ขันธ์, วิ.อนติอมติวาเอเตนาติ อํโส. อนฺ ปาณเน, อมํ คมเน วา, โส, นสฺสมสฺสวานิคฺคหีตํ(แปลง นฺ หรือ มฺ เป็น นิคคหิต). อํสฺ สงฺฆาเต วา, อ.อังสะ ชื่อของผ้าที่ภิกษุสามเณรใช้คล้องเฉวียงบ่าจากบ่าซ้ายมาใต้แขนขวาก็มีรากศัพท์มาจากคำนี้สฺอํศอํส.
  2. อาคุ : (นปุ.) ความชั่ว, บาป, วิ. อาคนฺตพฺพํคจฺฉติเอเตนาติอาคุ. อา ปีฬนํคจฉตีติ วาอาคุ. อาปุพฺโพคมฺคติยํ, ณุ, มฺโลโป. ความผิด, โทษ. วิ. อปคจฺฉติอเนนาติอาคุ.อปบทหน้าลบปทีฆะอเป็นอา.
  3. อาทิจฺจ : (ปุ.) ดวงอาทิตย์, พระอาทิตย์, ตะวัน, ดวงตะวัน.วิ. อาภุโสทิปฺปตีติอาทิจฺโจอาปุพฺโพ, ทิปฺทิตฺติยํ, โณฺย.แปลงปฺเป็นจฺลบณิรวมเป็นจฺยแปลงจฺยเป็นจฺจฏีกาอภิฯอาบทหน้าทิปฺธาตุอปัจ.ลงยปัจ.ประจำธาตุเป็นจฺจอทิติยาปุตฺโตอาทิจฺโจ.อทิติยาอปจฺจํอาทิจฺโจ.ยปัจ.โคตตตัท.ทีฆะต้นศัพท์ ลบอิที่ติเป็นตฺยแปลงตฺยเป็นจฺจรูปฯ ๓๕๔.สยํปภายนฏฺฐายอาทิกปฺปิเกหิอิจฺโจอุปคนฺ-ตพฺโพติอาทิจฺโจอาทิกปฺปิกปุพฺโพ, อิคติยํ, ริจฺโจ, กปฺปิกโลโป.ลงจฺจหรืออจฺจปัจ.แทนริจฺจ ก็ได้.ส. อาทิตฺย.
  4. อามณฺฑ : (ปุ.) ไม้ละหุ่ง, เทพทาโรชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง เปลือกหอมใช้ทำยา, แฟงชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งมีผลกลมยาวแต่ผลเล็กกว่าฟักวิ.อามํวาตํทายตีติอามณฺโฑ.อามปุพฺ-โพ, ทา อวขณฺฑเน, อ, ทสฺส โฑ.ลงนิคคหิตอาคมแล้วแปลงเป็นณฺอถวา, อาปุพฺโฑ, มณฺฑฺภูสเน, อ. อีสํปสนฺนเตล-ตายอามฌฺโฑ.ส.อามณฺฑ.
  5. อาโลกสนฺธิ : (อิต.) ช่องลม, หน้าต่าง. วิ. อาโลกานํ อาตปานํ ปวิสนฏฺฐานํ สนฺธิ ฉิทฺทนฺติ อาโลกสนฺธิ. (หน้า ๑๐๒)
  6. อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
  7. อุกฺกม : (ปุ.) ความขยัน, ฯลฯ. อุปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
  8. อุกฺกมน : (นปุ.) ความขยัน, ฯลฯ. อุปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
  9. อุฑุ : (นปุ.) น้ำ. อุทิ ปสวนกฺลทเนสุ, อุ. แปลง ท เป็น ฑ. ส. อุฑุ.
  10. อุทฺท : (ปุ.) นาก, นากกินปลา, เงือก, แมวน้ำ. อุทิ อุทฺท วา ปสวนเกฺลทเนสุ. ตั้ง อุทิ ธาตุ ลง ท ปัจ. ถ้าตั้ง อุทฺท ธาตุลง อ ปัจ.
  11. อุท อุทก : (นปุ.) น้ำ. วิ. อุทติ อุทฺทติ วา ทฺรวํ กโรตีติ อุทํ อุทกํ วา. อุทิ อุทฺทฺ วา ปสวนเกฺลทเนสุ, อ, โก. ถ้าตั้ง อุทฺทฺ ลบ ทฺ สังโยค. ศัพท์หลังลง ณฺวุ ปัจ. ก็ได้. ส. อุท อุทก.
  12. อุนฺทร อุนฺทุร อุนฺทุรุ อุนฺทูร : (ปุ.) หนู วิ. อุนฺทตีติ อุนฺทูโร. อุทิ ปสวนกิเลทเนสุ, อูโร. ส. อุนฺทร อุนฺทรู อุนฺทุรู. อุนฺนต
  13. อุปกฺโกส : (ปุ.) การกล่าวโทษ. อุปปุพฺโพ, กุสฺ อวฺหาเณ, โณ. บาลีเป็น ปโกส.
  14. อุปกม อุปกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปก่อน, ความหมั่น, ฯลฯ. อุปปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ศัพท์หลังซ้อน กฺ. ส. อุปกฺรม.
  15. อุปสงฺกมน : (นปุ.) การเข้าไปใกล้, การเข้า ใกล้. อุป สํ ปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, ยุ.
  16. อุลฺลิตฺต : กิต. ฉาบทาแล้ว, ปะแล้ว
  17. อุสฺโสฬฺหิ : (อิต.) ความเพียรยิ่ง วิ. อุ ปพาฬฺหํ ทุกฺกรกมฺมํ สหติ ยายาติ อุสฺโสฬหิ. อุปุพฺ โพ, สห ปสหเน, โฬฺห, สหสฺส โส. อุสฺ สาหานํ อูหาติ วา อุสฺโสฬฺหิ. อุสฺสาห+อูหา แปลง อา ที่ศัพท์ อุสฺสาห เป็น โอ และ ลบ ห ลบ อู แห่ง อูหา แปลง หฺ เป็น ฬฺห อี อิต. รัสสะ เป็น อิ ฎีกาอภิฯ ไม่ รัสสะ ได้รูปเป็น อุสฺโสฬฺหี วิเคราะห์แรก ฎีกาอภิฯ แปลง สห เป็น โสฬฺห.
  18. เอกปฏฏ : ค. มีผ้าข้างเดียว, มีหนังปะด้านเดียว
  19. เอกปฏลิก : ค. มีหนังปะข้างเดียว
  20. เอกโยชนทฺวิโยชน : (นปุ.) โยชน์หนึ่งหรือ โยชน์สอง, หนึ่งโยชน์หรือสองโยชน์. วิ. เอกโยชนํ วา ทฺวิโยชนํ วา เอกโยชนทฺวิ โยชนานิ. ปฐมาพหุพ. หรือ วิกัปปสมาส รูปฯ ๓๔๑.
  21. โอกฺกม : (ปุ.) การหยั่งลง, การย่างลง, การก้าวลง, ความหยั่งลง, ฯลฯ. โอปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
  22. โอกฺกมน : (นปุ.) การหยั่งลง, การย่างลง, การก้าวลง, ความหยั่งลง, ฯลฯ. โอปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
  23. โอทน : (ปุ. นปุ.) ข้าว, ข้าวสุก, ข้าวสวย, กระยาหาร. วิ. อุทฺทียตีติ โอทโน. อุทิ ปสวนกิเลทเนสุ, ยุ, อุทิสฺส โอโท (แปลง อุทิ เป็น โอท.
  24. โอหาวิม : (วิ.) เกิดด้วยการบูชา วิ. อวหเนน นพฺพตฺตํ โอหาวิมํ. อวปุพฺโพ, หุ หวฺย- ปทาเน, ณิโม. แปลง อว เป็น โอ แปลง อุ ที่ หุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว รูปฯ ๖๔๕.
  25. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | [4351-4375]

(0.1420 sec)