Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปา , then บา, , ปะ, ปา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปา, 4375 found, display 451-500
  1. เทหนี : (อิต.) ธรณีประตู วิ. เทหํ เนติ ปเวเสนาติ เทหนี. เทหปุพฺโพ, นี ปาปุณเน, กฺวิ.
  2. ธมติ : ก. เป่า, พัด, ทำเสียง, เปล่งเสียง, จุดไฟ, ไหม้, เกรียม, ถลุง, หลอม
  3. ธเมติ : ก. พัด, เป่า, ทำเสียง, จุดไฟ
  4. นยน : (นปุ.) ตา, ดวงตา, นัยน์, นัยน์ตา. วิ. เนติ อตตโน นิสสิตํ ปุคคลนติ นยนํ. นี ปาปุณเน, ยุ. อภิฯ. รูปฯ ๕๘๑ วิ. นยตีติ นยนํ นียติ เอเตนาติ วา นยนํ. นี นยเน. การถึง, การบรรลุ, การได้, การนำ, การนำไป, ความถึง, ฯลฯ. วิ. นยนํ คมนํ นยนํ ส. นยน.
  5. นโยปา : (ปุ.) หนทางเป็นเครื่องนำไป, วิธี เป็นเครื่องนำไป, อุบายเป็นเครื่องนำไป, วิธีดำเนินการ. วิ. นโย อุปาโย นโยปาโย. ไทย นโยบาย ใช้ในความหมายว่า หลัก และวิธีปฏิบัติที่ถือเป็นแนวดำเนินการ.
  6. นานารูป : (วิ.) มีรูปต่างๆ, มีรูปมีประการ ต่างๆ, มีมากอย่าง, มีต่างๆ อย่าง. วิ. นานปฺปการา รูปา ยสฺส โส นานารูโป.
  7. นายก : (ปุ.) พระนายก พระนามของ พระพุทธเจ้าทั้งปวง วิ. สํสารณฺณวโต นิพฺพานปารํ สตฺเต เนตีตี นายโก. นี ปาปุณเน, ณวุ.
  8. นิคฺโฆส : (วิ.) เอิกเกริก, กึกก้อง, เกรียวกราว. นิสทฺดท ปาตุภาเว.
  9. นิชฺฌร : (ปุ.) การไหลไปแห่งน้ำ, ลำธาร, แม่น้ำ, น้ำตก. วิ. นิสฺสรณํ นิชฺฌโร. นิปุพฺโพ, สรฺ คติยํ, อ. แปลง ส เป็น ช แล้ว แปลง ช เป็น ชฺฌ ปพฺพตปาสาณาทีสุ อมฺพุโน ปสโว นิชฺฌโร นาม. เป็นนิฌร ก็มี. ส. นิรฺฌร.
  10. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  11. นิมิ : (ปุ.) พระเจ้านิมิราช วิ. สุคติ เนติ ปาเปตีติ นิมิ นเย, มิ.
  12. นิยติ : (อิต.) โชคดีโชคร้าย, เคราะห์กรรม. วิ. สุภาสุภผลํ เนตีติ นิยติ. นิ ปาปุณเน, ติ. และ อ อาคมท้ายธาตุ.
  13. นิยฺยาน : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องนำออก, ธรรม เครื่องนำออก. นิปุพฺโพ, ยา คติปาปุเณสุ. ยุ.
  14. นิวห : (ปุ.) ฝูง, หมู่ พวก, ประชุม, กอง, คณะ. นิปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, อ. วิ. นิสฺเสสโต วหติ อวยวนฺติ นิวโห. ส. นิวห.
  15. ปนฺนค : (ปุ.) สัตว์ผู้มีหัวตกไป, สัตว์ผู้ไม่ไป ด้วยเท้า, ( เคลื่อนไปด้วยกระดูกซี่โครงและ เกล็ด ), งู, นาค, นาคราช. วิ. ปนฺนสิโร คจฺฉตีติ ปนฺนโค. ปนฺนํ คจฺฉตึติ วา ปนฺน โค. ปาเทหิ น คจฺฉตีติ วา ปนฺนโค. ปนฺน ปุพฺโพ, คมุ สปฺปคติยํ, กวิ.
  16. ปรม : (วิ.) ยอด, ยอดเยี่ยม, ยอดยิ่ง, อย่างยิ่ง, อย่างเยี่ยม, อย่างยอด, เป็นยอด, สูงสุด, ที่สุด, สนิท, เต็มเปี่ยม, อุดม, บรม. วิ. นตฺถิ อญฺญ ปรํ เอตสฺมาติ ปรมํ. ม ปัจ. แทน นตฺถิ. ปรํ ปจฺจนีกํ มาเรตีติ ปรมํ. ปกฏฺฐภาเว รมตีติ วา ปรมํ. อถวา, ปรติ อตฺตโน อุตฺตมภาวํ ปาเลติ ปูเรติ วาติ ปรมํ. ปรฺปาลเน, โม. ลง อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ แล้ว ลง ม ปัจ.
  17. ปริตสฺสนา : (อิต.) ความอยากจัด, ความทะยานอยาก. ปริปุพฺโพ, ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน อาอิต. เป็น นปุ บ้าง.
  18. ปวิชฺฌน : นป. การขว้าง, การปา, การแทง, การยิง
  19. ปากต : ค. ดู ปากฎ
  20. ปาตี : ๑. อิต. ดู ปาติ๒. ค. ผู้ทำให้ตกไป, ผู้ขว้าง, ผู้ปา, ผู้ยิง
  21. ปาทงคท : นป. ดู ปาทกฏก
  22. ปานียสาลา : อิต. ดู ปานมณฺฑล
  23. ปาปิกา : อิต. ดู ปาปก
  24. ปาปิต : ๑. กิต. อัน..ให้ตกไปแล้ว; ๒. ค. ดู ปาปก
  25. ปาปิมนฺตุ : ค. ดู ปาปก
  26. ปาล, - ก : ค., ปาลน นป. ผู้ปกครอง, ผู้รักษา
  27. ปาวุรณ : นป. ดู ปาปุรณ, ปารุปน
  28. ปาฬิ : อิต. ดู ปาลิ
  29. ปุปฺผติ : ก. ออกดอก, บาน; เป่า, พัด
  30. ปุพฺพวิเทห : (ปุ.) บุพวิเทหะ ชื่อทวีปใหญ่ ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. เวเทน ปญฺญาย อีหนฺติ เอตฺถาติ เวเทโห. โส เอว วิเทโห. อิมํ ทีปมุปาทาย สิเนรุโต ปุพฺพาทิสาภาคตฺตา ปุพฺโพ จ โส วิเทโห จาติ ปุพฺพวิเทโห.
  31. โปฏฺฐปท โปฏฺฐปา : (ปุ.) เดือน ๑๐, กันยายน. วิ. โปฏฺฐปทาย ปริปุณฺณนฺ-ทุยุตฺตาย ยุตฺโต มาโส โปฏฺฐปโท โปฏฺฐปาโท วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  32. โปตวาห : (ปุ.) ต้นหน, นายท้าย. โปตปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณ โณ. แปลว่า ลูกเรือ กลาสี ฝีพาย ด้วย.
  33. ผคฺคุนี : (อิต.) ผัคคุนี ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๑๑ วิ. ผลํ คณฺหาเปตีติ ผคฺคุนี. ผลปุพฺโพ, คหฺ อุปาทาเน, ยุ, อี, ลสฺส โค, หสฺส อุ. แปลง ยุ เป็น อณ เป็น ผคฺคุณี บ้าง. หรือลบที่สุดธาตุแปลง อ ที่ ค เป็น อุ ก็ได้.
  34. พนฺธนาคาริก : (ปุ.) คนผู้อยู่ในเรือนเป็นที่จองจำ, นักโทษ. วิ. พนฺธนาคาเร วสตีติ พนฺธนาคาริโก. คนปกครองเรือนจำ วิ. พนฺธนาคารํ ปาเลตีติ พนฺธนาคาริโก. ณิกปัจ. ราคมทิตัท.
  35. พฺยคฺฆ : (ปุ.) เสือ, เสือลาย, เสือโคร่ง, ปีขาล. วิ. วีนํ หนฺตฺวา อาฆายตีติ วฺยคฺโฆ พฺยคฺโฆ วา. ฆา คนฺโธปาทาเน, โณ.
  36. พฺยปฺปนา : (อิต.) ความตริ, ความตรึก, วิตก, วปุพฺโพ, อปฺปฺ ปาปุณเน, ยุ, อิตฺถิยํ อา.
  37. พฺยาปา : (ปุ.) ความจำนงภัย, ความขึ้งเครียด, ความป้องร้าย, ความผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น, ความพยาบาท. วิ. วฺยาปชฺชติ วินสฺสติ จิตฺต เมเตนาติ วฺยาปาโท พฺยาปาโท วา. วิ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติมฺหิ, อ. เจตสิกธรรมอันยังประโยชน์เกื้อกูลและความสุขให้ฉิบหาย.
  38. พริห : (นปุ.) หาง เช่น หางนกยูง. วรหฺ ปาธานิเย, อ. แปลง ว เป็น พ และ อ ที่ ร เป็น อิ.
  39. พริหิติณ พริหิส : (นปุ.) หญ้าคา, ข่า. วรหฺ ปาธานิยปริภาสนหีสาทาเนสุ, อิโส.
  40. พาห : (ปุ.) แง้มแห่งประตู (แง้มคือริม, ข้าง), บานแห่งประตู, ราว. วหฺ ปาปุณเน, โณ. แปลว่า เกวียน ก็ได้.
  41. พาหา : (อิต.) แขน วิ. วหติ เอตายาติ พาหา. วหฺ ปาปุณเน, โณ, อิตฺถิยํ อา. อภิฯ ลง อ ปัจ.
  42. พาหุ : (ปุ. อิต.) แขน วิ. วหฺติ อเนนาติ วาหุ. วาหุ เอว พาหุ. วหฺ ปาปุณเน, ณุ. พาธติ อุปทฺทเวติ วา พาหุ. พาธ. วิพาธเน, ณุ, ธสฺส หตฺตํ.
  43. พินฺทุมตี : อิต. ชื่อของหญิงนครโสเภณีคนหนึ่งในเมืองปาตลีบุตร สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช
  44. พิมฺโพหน : (นปุ.) หมอน, เขนย. วิ. วิเสเสนสีสํ วห-ตีติ พมฺโพหนํ. วเสสปุพฺ-โพ, วหฺปาปุณเน, ยุ, ลบ สฺส แปลง ว ทั้งสองเป็น พ แปลง อ ที่ พ ตัวหลัง เป็น โอ นิคคหิตอาคม.
  45. พีช : (นปุ.) เหตุ, มูลเหตุ, มูลเค้า, เมล็ด, ฟอง (ฟองไข่), นิมิตบุรุษ, นิมิตสตรี, องคชาต, น้ำสุกกะ, พันธุ์ไม้, ต้นไม้, พืช (สิ่งที่จะเป็นพันธุ์ต่อไป). วิเสสปุพฺโพ, ชนฺ ปาตุภาเว, โร. ลบ เสส แปลง วิ เป็น พิ ทีฆะ ลบ ที่สุดธาตุ และ รปัจจัย อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ.
  46. ภารวาห : (ปุ.) คนนำของหนักไป, คนผู้แบก, คนผู้หาบ. วิ. ภารํ วหตีติ ภารวาโห. ภารปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, โณ.
  47. ภุช : (ปุ.) มือ, ข้อมือ, งวง, งวงช้าง. วิ. ภุญฺชเต อเนเนติ ภุโช. ภุชฺ ปาลนชฺ-โฌหรเณสุ, อ.
  48. ภูรุห ภูรูห : (ปุ.) ต้นไม้. ภูปุ-พฺโพ, รุหฺ ปาตุ ภาเว, อ. ศัพท์หลังทีฆะ.
  49. มนาป : (วิ.) อันยังใจให้เอิบอาบ, เป็นที่เอิบอาบแห่งใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอ ใจ, เป็นที่ชอบใจ, แนบในใจ, เจริญใจ, พึงใจ, พอใจ, ดีใจ, ดีนัก, งาม. วิ. มโน ปปฺโปติ ยสฺมึ โส มนาโป. มนํ อปฺเปติ วฑฺเฒตีติ วา มนาโป. มนปุพฺโพ, อปฺ ปาปุณเน, กฺวิ.
  50. มโนรถ : (ปุ.) ความประสงค์ดุจรถแห่งใจ, ความปรารถนาเป็นที่ยินดีแห่งใจ, ความปรารถนาแห่งใจ, ฉันทะเป็นที่ยินดีแห่งใจ, ความหวัง, ความประสงค์, ความใฝ่ฝัน, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. วิ. จิตฺตสฺส นานารมฺมเณสุ วิพฺภมกรณโต มนโส รโถ อิว มโนรโถ. รหียตีติ รโถ. รหฺ อุปาทาเน, โถ. ลบ หฺ. มโน เอว รโถ วิยาติ วา มโนรโถ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | [451-500] | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4375

(0.1200 sec)