Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชา , then , ชะ, ชา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ชา, 439 found, display 51-100
  1. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  2. พาหิรปพฺพชฺชา : อิต. ดู พาหิรกปพฺพชฺชา
  3. มนุสฺสชาติย : (วิ.) ผู้เกิดแล้วโดยชาติแห่งมนุษย์, ผู้เกิดโดยชาติแห่งมนุษย์, ผู้เกิดโดยชาติมนุษย์. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท.
  4. สมชฺชา : (อิต.) บริษัท, ภูมิที่ประชุม, สมัชชา(การประชุมเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ). วิ. สมชฺชนฺติ สํคจฺฉนฺติ มีลนฺตฺยสฺสนฺติ สมชฺชา. สํปุพโพ, อชฺ คมเน, อ, ชสฺส ทฺวิตฺตํ. อิตถิยํ อา. อภิฯ. สํปุพฺโพ, อญฺชฺ คติยํ, โณย. ลบ. ญฺสังโยค แปลง ชฺย เป็น ชฺช รูปฯ ๖๔๔. ส. สมชฺยา.
  5. อเนญฺชาภิสงฺขาร : (ปุ.) อภิสังขารคืออเนญชาหมายเอารูปฌานที่ ๔ และ อรูปฌาน ๔.
  6. อาชานียอาชาเนยฺย : (ปุ.) อาชานียบุคคลอาชาเนยยบุคคล (ผู้ได้รับการอบรมมาดี), ม้าอาชาไนย (มีไหวพริบดี).วิ.อา ภุโสการณาการณํชานาตีติอาชานีโยอาชาเนยฺโยวา.อาบทหน้าญาธาตุนาปัจ. ประจำธาตุและ ณฺยปัจแปลงญา เป็น ชฺแปลงอาที่นาเป็นอีศัพท์หลัง แปลงอีเป็นเอ ซ้อนยฺอกิฯลงอานียหรือ ณฺย ปัจ. ส. อาชาเนย.
  7. อาชาเนยฺย : ป. ดู อาชานีย
  8. อินฺทชาลิก : (ปุ.) คนเล่นกล, คนเจ้าเล่ห์, คนเจ้ามายา. วิ. อินฺทชาเล นิยุตฺโต อินฺทชาลิโก.
  9. เอชฺชา : (อิต.) ความปรารถนา, ความอยากได้, ความหวั่นไหว. วิ. อญฺชนํ เอชฺชา. อิญฺช กมฺปเน, โณฺย.
  10. เอชา : (อิต.) เอชา ชื่อของตัณหา, ตัณหา, เอชา วุจฺจติ ตณฺหา. ความปรารถนาจัด, ความอยากได้จัด, ความปรารถนา. ความอยากได้, ความแสวงหา, ความหวั่นไหว. วิ เอชตีติ เอชา. เอชฺ กมฺปเน, อ. เอชนํ วา เอชา.
  11. กณฺหาภิชาติก : ค. ผู้เกิดในตระกูลต่ำ
  12. กตชาติหิงฺคุลิก : ค. ตกแต่งแล้วด้วยสีแดงอันบริสุทธิ์
  13. กปฺปชาติก : ค. ผู้เป็นคนตระกูลกัลบก, ผู้เกิดในตระกูลช่างตัดผม
  14. กลฺยาณชาติก : ค. ผู้มีชาติอันงาม
  15. กวจชาลิกา : อิต. เสื้อเกราะ
  16. กึชาติก กึนิทาน กึปภว กึสมุทย : (วิ.) มีอะไร เป็นชาติ, มีอะไรเป็นเหตุ, มีอะไรเป็น แดนเกิดก่อน, มีอะไรเป็นสมุทัย (แปล ตามลำดับศัพท์). วิ. ตัวอย่าง โก ปภโว อสฺสาติ กึปภโว.
  17. กุญฺชา : (อิต.) ดาง. อภิฯ เป็น ปุ. รูปฯ ๓๘๕ เป็น อิต.
  18. ขตฺตวิชฺชา : อิต., ขตฺตเวท ป. นโยบายการปกครอง, วิชาการปกครอง
  19. ขุชฺชา : (อิต.) หญิงกระจอก, ฯลฯ.
  20. ฆรสปฺปชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งงูผู้อาศัยซึ่ง เรือน เป็น อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตัป. เป็น ภายใน. ผู้ประกอบด้วย ชาติแห่งงูในเรือน เป็น ณิก ปัจ. ตรัต๎ยา- ทิตัท. มี ส. ตัป. และ ต.ตัป. เป็น ภายใน
  21. จตุชาติคนฺธ, จตุชฺชาติยคนฺธ : ป. ของหอมมีชาติสี่, คันธชาติสี่ชนิด คือ ๑. กุงฺกุม = หญ้าฝรั่น ๒. ตคล = กฤษณา ๓. ตุรุกฺข = กำยาน ๔. ยานปุปฺผา = บุปผชาติอันมีในแดนโยนก
  22. จุลหสมหาหสกกฺกฏหชาตก : (นปุ.) ชาดกอัน บัณฑิตกำหนดแล้วด้วยหงส์น้อยและหงส์ ใหญ่และปู.
  23. : (วิ.) ผู้เกิด, ผู้บังเกิด, ผู้ยัง...ให้เกิด.
  24. ชาณุปฺปมาณ ชานุปฺปมาน : (วิ.) มีเข่าเป็น. ประมาณ, ประมาณเข่า.
  25. ชานุ, ชานุก : นป. เข่า
  26. ตนุชา : อิต. ดู ตนยา
  27. ติรจฺฉานวิชฺชา : (อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.
  28. ตุณฺฑิลชาตก : นป. ชาดกว่าด้วยสุกรชื่อว่าตุณฑิล
  29. เตลวณิชฺชา : อิต. การค้าขายน้ำมัน
  30. ทพฺพชาติก : ค. ผู้มีชาติแห่งคนฉลาด, ผู้ฉลาดสามารถ
  31. ทุปฺปพฺพชฺชา : (อิต.) การบวชได้โดยยาก, การบวชยาก, การบวชเกิดขึ้นได้โดยยาก, การที่จะบวชได้นั้นยาก เพราะยังติดอยู่ ในกามบ้าง เพราะเหตุอื่นๆ บ้าง.
  32. ธชวนฺตุ ธชาลุ : (วิ.) มีธง, มีธงมาก (ศัพท์ ที่ ๒).
  33. ชาลุ : ค. ดู ธชวนฺตุ
  34. ธมฺโมชา : อิต. รสอันเกิดแต่ธรรม
  35. นกฺขตฺตราชา : ป. เจ้าแห่งนักษัตร, พระจันทร์
  36. นกฺขตฺตวิชฺชา : (อิต.) ความรู้เรื่องดวงดาว, วิชาดูดาว, วิชาดูฤกษ์ยาม.
  37. นชฺชา : (อิต.) แม่น้ำ.
  38. นาวิกวิชฺชา : (อิต.) วิชาเดินเรือ, นาวิกวิทยา. ส. นาวิกวิทฺยา.
  39. นิชฺชาเลติ : ก. ให้ดับ, ดับไฟ
  40. นิมุชฺชา : อิต. ดู นิมุชฺชน
  41. นิสชฺชา : อิต. การนั่งลง
  42. ชาปติ : ป. เจ้าแห่งหมู่สัตว์, พระพรหม
  43. ปฏิชานาติ : ก. ปฏิญาณ, ยอมรับ (สารภาพ), ให้สัญญา, รับรอง, ตกลง, แสดงความเห็นชอบ
  44. ปฐโวชา : อิต. โอชาแห่งแผ่นดิน, โอชาเกิดแต่ดิน, ง้วนดิน
  45. ปพฺพชา : (อิต.) การออก, การออกไป ( จาก เรือน คือบวช ), การบวช, การออกบวช. ปปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. การค้นหา การแสวงหา ( ความพ้นทุกข์ ) . วชฺ มคฺคเน.
  46. ปริชานาติ : ก. รู้รอบ, รอบรู้
  47. ปาชาเปติ : ก. ให้ขับไป
  48. ปาริจฺฉตฺตก, ปาริชาต, ปาริชาตก : ป. ไม้ปาริชาต (ไม้สวรรค์), ต้นทองหลาง
  49. ปุริสาชญฺญ ปุริสาชานีย ปุรสาชาเนยฺย : (ปุ.) บุรุษผู้อาจในอันรู้ซึ่งกิจอันพลัน, บุรุษผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสิ่งใช่เหตุโดยยิ่ง, บุรุษผู้อาชาไนย, บุรุษอาชาไนย.
  50. ปุเรชา : ค. วิ่งไปข้างหน้า
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-439

(0.0468 sec)