Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตี , then ติ, ตี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตี, 4540 found, display 4251-4300
  1. อกุสล : (วิ.) ผู้มีความฉลาดหามิได้, ผู้มีความดีหามิได้, วิ. นตฺถิ ตสฺส กุสลนฺติอกุสลํ. มิใช่ความฉลาด, มิใช่ความดี วิ.น กุสลํ อกุสลํ. ส. อกุศล.
  2. อกุสองฺกุส : (ปุ.) ขอ (ไม้หรือเหล็กที่งอๆสำหรับใช้ชักเกี่ยวสับ), ขอเกี่ยว, ขอช้าง.วิ. อํเกติ อเนนาติ อํกุโส องฺกุโส วาอํกฺลกฺขเณ, โส, อสฺส อุ (แปลงอเป็นอุ).เวส ฯ๕๘๘ลง อุ อาคม. ส. องฺกุศองฺกุศสฺ
  3. อกุส องฺกุส : (ปุ.) ขอ (ไม้หรือเหล็กที่งอๆ สำหรับใช้ชักเกี่ยวสับ), ขอเกี่ยว, ขอช้าง. วิ. อํเกติ อเนนาติ อํกุโส องฺกุโส วา อํกฺ ลกฺขเณ, โส, อสฺส อุ (แปลง อ เป็น อุ). เวส ฯ ๕๘๘ ลง อุ อาคม. ส. องฺกุศ องฺกุศสฺ
  4. อคฺค : (วิ.) มาก, ยอด, ยิ่ง, ดียิ่ง, เลิศ, ล้ำเลิศ, ประเสริฐ, วิเศษ, เป็นประธาน, ก่อน, แรก, หัวปี (ทีแรก เกิดก่อน), เอก, สูง, สูงสุด.วิ.อชติคจฺฉติเสฏฐภาวนฺติอคฺโค. อชฺ คมเน, อ, ชสฺส โค. คปจฺจโย วา. ส. อคฺร.
  5. อคท : (ปุ. นปุ.) สิ่งที่เป็นปฏิปักษ์แก่โรค, ยา, ยาประเสริฐ. วิ. โค วุจฺจติ ทุกฺขํ, ตํเทติ คโท, โรโค; น วิชฺชเต คโท ยสฺมึ โสอคโท. ส. อคท.
  6. อฆ : (นปุ.) อากาศ, กลางหาว, วิ. น หญฺญเตติ อฆํ. นปุพฺโพ, หน หึสายํ, อ, หนสฺส โฆ. บาป, ความชั่ว. วิ, สาธูหิ นหนฺตพฺพนฺติ อฆํ. นปุพฺโพ, หนฺติ ธญฺญมิตฺยฆํ.นปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, อ. อฆ.ปาปกรเณ วา.เป็นปุ. ? ส.อฆ.
  7. องฺคานุสารี : (ปุ.) ลมอันแล่นไปตามซึ่งอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันพัดไปตามอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันมีปกติแล่นไปตามอวัยวะทั้งปวง. วิเคราะห์ว่าสพฺพงฺเค อนุสรติ สีเลนาติ องฺคานุสารี.เป็นต้น.สพฺพงฺค บทหน้า อนุบทหน้าสรฺ ธาตุในความแล่นไป ณี ปัจ.ลบ.สพฺพ. แปลว่าลมพัดไปตามตัว โดยไม่ลงในอรรถสีลก็ได้.
  8. องฺคีรส : (วิ.) ผู้มีองค์เป็นแดนซ่านออกแห่งรัศมี, ผู้มีรัศมีอันซ่านออกจากอวัยวะ, ผู้มีรัศมีอันซ่านออกจากตน, ผู้มีรัศมีอันซ่านออกจากตนดังเปลวไฟ.วิ. องฺคมฺหิ กาเยรโส รํส ทิปฺปเต ยสฺสาติ องฺคีรโส. ณ ปัจ.ตทัสสัตถิตัท. อี อาคม.
  9. อจฺจน : (นปุ.) การถวายการเซ่นสรวง, การบูชา, ความนับถือ.วิ. อจฺจียเตติ อจฺจนํ อจฺจนา วา. อจฺจฺปูชายํ, ยุ
  10. อจฺจนฺตโกธนอจฺจนฺตโกปน : (วิ.) ขึ้งเคียดยิ่งขึ้งเคียดนัก, กำเริบยิ่ง.วิ. อติเรกํ กุชฺฌติกุปฺปติ วาติ อจฺจนฺตโกธโน อจฺจนฺตโกปโน วา. กุธฺ กุปฺ โกปเน, ยุ.
  11. อจฺจนฺตโกธน อจฺจนฺตโกปน : (วิ.) ขึ้งเคียดยิ่ง ขึ้งเคียดนัก, กำเริบยิ่ง. วิ. อติเรกํ กุชฺฌติ กุปฺปติ วาติ อจฺจนฺตโกธโน อจฺจนฺตโกป โน วา. กุธฺ กุปฺ โกปเน, ยุ.
  12. อจฺจนา : (อิต.) การถวายการเซ่นสรวง, การบูชา, ความนับถือ.วิ. อจฺจียเตติ อจฺจนํ อจฺจนา วา. อจฺจฺปูชายํ, ยุ
  13. อจฺจยติ : ก. ดู อจฺจติ
  14. อจฺฉิ : (นปุ.) ไฟ, เปลวไฟ, แสงไฟ, รัศมี, แสง, ตา, นัยน์ตา, วิ. อจฺฉติ เอเตนานิอจฺฉิ. อจฺฉ ทสฺสนพฺยาปเนสุ, อิ.
  15. อจิรปฺปภา : (อิต.) สายฟ้าแลบ, ฟ้าแลบ. วิ.อจิรํ ปภา ทิตฺติ ยสฺสา สา อจิรปฺปภา.
  16. อชฺฌกฺข : (ปุ.) คนดูการ, คนดูการณ์, คนตรวจการณ์, คนตรวจตรา, คนยาม, เจ้าพนักงาน.วิ. คาเมสุ อธิกตฺตา อธิกา อิกฺขา อนุภวน เมตสฺสาติ อชฺฌกฺโข.อธิ+อิกข แปลง อธิ เป็นอชฺฌ แปลง อิ ที่อิกฺข เป็น อ.
  17. อชฺฌตฺติก : (วิ.) อันเป็นไปภายใน, มีในภายใน, เฉพาะตัว, ส่วนตัว, ภายใน.อชฺฌตฺติกาพาหิรอายตนะภายในและอายตนะภายนอก.
  18. อชปาลก : (นปุ.) โกฐชื่อเครื่องสมุนไพรอย่างหนื่ง มีหลายชนิด.วิ.อตฺตโน ฉายูปคเตอเชปาเลตีติอชปาลกํ. อชปุพฺโพปาลฺรกฺขเณ, ณฺวุ.
  19. อชินปตฺตา : (อิต.) ค้างดาว.วิ.อชินํจมฺมํปตฺตํ ยสฺสา สา อชินปตฺตาเป็นอชินปตฺติกา บ้าง. ส. อชินปตฺตรา อชินปตฺตรีอชินปตฺตริกา.
  20. อชิร : (นปุ.) ที่เป็นที่เป็นไป, สนาม, ลาน, ลานบ้าน.วิ.อชนฺติ เอตฺถาติ อชิรํ. อชฺคมเณ, อิโร. ส.อชิร.
  21. อฏฺฐก : (วิ.) แปด.กสกัด, มีปริมาณแปดวิ. อฏฺฐ ปริมาณานิ อสฺสาติ อฏฺฐกํ.กปัจสังขยาตัท.
  22. อฏฺฐกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อ ความ, วาจาเป็นเครื่องอัน....กล่าวซึ่งเนื้อ ความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ, อรรถกถา (คำอธิบายบาลีพุทธพจน์ที่ยาก ให้ง่ายขึ้น คำอธิบายแก้อรรถบาลี). วิ. อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ อฏฺฐกถา. อตฺถปุพฺ โพ, กถ. กณน, อ, อิตฺถิยํ อา, ตฺถสฺส ฏฺโฐ
  23. อฏฺฐกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องอัน....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ, อรรถกถา (คำอธิบายบาลีพุทธพจน์ที่ยากให้ง่ายขึ้น คำอธิบายแก้อรรถบาลี).วิ.อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ อฏฺกถา. อตฺถปุพฺโพ, กถ. กณน, อ, อิตฺถิยํ อา, ตฺถสฺส ฏฺโฐ
  24. อฏฺฐปริขารอฏฺฐปริกฺขาร : (ปุ.) บริขาร ๘.บริขาร ๘ คือปตฺโต บาตร, ติจีวรํไตรจีวร(นับ๓), กายพนฺธนํประคดเอว, วาสิมีดเล็ก (มีดโกน), สูจิ เข็ม, ปริสฺสาวนํผ้ากรองน้ำ(ธมกรก).
  25. อฏฺฐปริขาร อฏฺฐปริกฺขาร : (ปุ.) บริขาร ๘. บริขาร ๘ คือ ปตฺโต บาตร, ติจีวรํ ไตร จีวร(นับ๓), กายพนฺธนํ ประคดเอว, วา สิ มีดเล็ก (มีดโกน), สูจิ เข็ม, ปริสฺสาวนํ ผ้ากรองน้ำ (ธมกรก).
  26. อฑฺฒรตฺต : (ปุ. นปุ.) เที่ยงคืน, เวลาเที่ยงคืน, ครึ่งคืน, กึ่งราตรี.วิ.รตฺติยาอฑฺฒํอฑฺฒรตฺโต.อฑฺฒญฺจตํรตฺติจาติวาอฑฺฒรตฺโต.รตฺติยาวาอฑฺฒํอฑฺฒรตฺตํ.วิปริยโย(กลับบทหน้าไว้หลัง).
  27. อฑฺฒอทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค.เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ.ถ้าหมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติเขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ.อสุเขปเน, โต.แปลง ต เป็น ฑฺฒลบที่สุดธาตุคำหลังดูอทฺธข้างหน้า.ส. อรฺทฺธอรฺธ.
  28. อฑฺฒ อทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค. เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ. ถ้า หมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติ เขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ. อสุเขปเน, โต. แปลง ต เป็น ฑฺฒ ลบที่สุดธาตุ คำหลัง ดู อทฺธ ข้างหน้า. ส. อรฺทฺธ อรฺธ.
  29. อณฺฑูปก : (นปุ.) เครื่องรองภาชนะ, เครื่องรองของที่เทินบนศรีษะ (ส่วนมากทำด้วยผ้าเป็นวงกลม), เสวียนผ้า, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ).วิ.อนฺตํ สมีปํ อุปคจฺฉติอาเธยฺยสฺสาติ อณฺฑูปกํ. แปลง นฺตเป็นณฺฑแปลงคเป็นก.
  30. อตฺตทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าเป็นตนวิ. อตฺตาอิติทิฏฺฐิอตฺตทิฏฺฐิ.
  31. อตฺตทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าเป็นตน วิ. อตฺตาอิติ ทิฏฺฐิ อตฺตทิฏฺฐิ
  32. อตฺตนิย : (วิ.) เกิดแล้วในตน, เกิดแล้วแต่ตน, เกิดในตน, เกิดแต่ตน, เนื่องด้วยตน, นี้ของตน, วิ. อตฺตนิ ชาโต อตฺตนิโย. อตฺตนา ชาโตอตฺตนิโย, อตฺตโน อิทนฺติ ยตฺตนิยํ. อิย ปัจ.ชาตาทิตัท.นฺอาคม.โมคฯขาทิกัณฑ์ลง นิย ปัจ.
  33. อตฺตมน : (วิ.) ผู้มีใจอันปิติและโสมนัสถือเอาแล้ว (ปีติโสมนสฺเสน คหิตมโน), ยินดี, ดีใจ, ปลื้มใจ, พอใจ, เพลิน, เพลิดเพลิน.อตฺต –สำเร็จรูปมาจาก อาปุพฺโพ, ทา อา ทาเน, โต.รัสสะ อา เป็น อ ลบ อา ที่ ทา เหลือเป็น ทฺแปลง ทฺ เป็นตฺ.
  34. อตฺตสญฺญา : (อิต.) ความสำคัญว่าเป็นตน.วิ. อตฺตาอิติ สญฺญา อตฺตสญฺญา.
  35. อตฺถิก : (วิ.) ผู้มีความต้องการ, ฯลฯ. วิ. อตฺโถอสฺส อตฺถีติ อตฺถิโก อิก ปัจ.
  36. อติถิอติถี : (ปุ.) คนผู้ไม่มีดิถี (แขก), แขก(คนผู้มาหา).วิ.นตฺถิ ติถิ อสฺสาติ อติถิ.อติถี วา ศัพท์ต้น ณ ปัจ.ศัพท์หลังอี ปัจคนผู้ไม่มีดิถีนั้นหมายความว่ามาหาไม่เลือกเวลา จะเป็นเช้า สาย บ่าย เย็น กลางคืนไม่เลือกทั้งสิ้น.
  37. อติถิ อติถี : (ปุ.) คนผู้ไม่มีดิถี (แขก), แขก (คนผู้มาหา). วิ. นตฺถิ ติถิ อสฺสาติ อติถิ. อติถี วา ศัพท์ต้น ณ ปัจ. ศัพท์หลัง อี ปัจ คนผู้ไม่มีดิถีนั้นหมายความว่า มาหาไม่ เลือกเวลา จะเป็นเช้า สาย บ่าย เย็น กลาง คืน ไม่เลือกทั้งสิ้น.
  38. อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
  39. อทฺทุ : (ปุ.) เรือนจำ, คุก.วิ.ทุกฺเขนอทติเอตฺถาติ อทฺทุ.ทุกฺขํ อทติ อนุภวติชโน เอเตนาติ วา อทฺทุ.อทฺภกฺขเณ, ทุ.
  40. อทินฺนาทาน : (นปุ.) การถือเอาซึ่งสิ่งของอันเจ้าของไม่ให้แล้ว, การถือเอาซึ่งสิ่งอันเจ้าของไม่ได้ให้แล้ว, การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แก่ตน, อทินนาทาน (การลักทรัพย์การขโมย).วิ.อทินฺนสฺสอาทานํอทินฺนาทานํ.อถวา, อทินฺนํอาทียนฺติเอเตนาติอทินฺนาทานํ.
  41. อทุกฺขมสุขา : (อิต.) ความไม่ทุกข์และความไม่สุข, อุเบกขา (ไม่ทุกข์และไม่สุข), อุเบกขาเวทนา.วิ.อทุกฺขาจสาอสุขาเจติ อทุกฺขมสุขา.
  42. อธิกต : (ปุ.) คนดูการ, คนทำการในวัง.วิ.อธิกํกโรตีติอธิกโต.อธิปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โต.ลบที่สุดธาตุ
  43. อธิน อธีน : (วิ.) ผู้อาศัย, ผู้พึ่ง, ผู้พี่งพิง, ผู้ว่าง่าย ผู้สอนง่าย, เป็นบ่าว, เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เนื่องด้วย. อธิคโต อิโน ปภูเยนาติ อธีโน. อธีน
  44. อธิโรหณี : (อิต.) พะอง, บันได.วิ.อุทฺธ มาโรหเต เอตายาติ อธิโรหณี. อธิปุพฺโพ, รุหฺปาตุภาเว, ยุ, อิตถิยํอี. เป็นอธิโรหิณีเพราะแปลงอที่หเป็นอิบ้าง.
  45. อธิวิมุตฺตตฺต : นป. ดู อธิวิมุตฺติ
  46. อนฺติย : (วิ.) มีในที่สุด.วิ.อนฺเตภโวอนฺติโย.
  47. อนฺธตม อนฺธนฺตม : (ปุ. นปุ.) ความมืดคือบอด, ความมืดบอด, ความมืดทึบ, ความมืดตื้อ, ความมืดมน (มืดแปดด้าน) มืดมิด. วิ. อนฺธญฺจ ตํ ตมญฺจาติ อนฺธตมํ อนฺธนฺตมํ วา
  48. อนนุวชฺช : (วิ.) อัน...ไม่พึงติเตียน.น+อนุ+วทฺ+ณฺยปัจ.
  49. อนมตคฺค : (วิ.) มีที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามอยู่รู้ไม่ได้แล้ว, มีวิ.ตามลำดับ ดังนี้ปเรกเสสทวัน. อคฺโค จ ปุพฺโพ จ อคฺคา.วิเสสนบุพ.กัม.อนุคจฺฉิยมานา จ เตอคฺคาจาติอนุคจฺฉิมานคฺคา.นบุพ.กัม. น มตา อนมตา (อนุคจฺฉิยมานคฺคา)วิเสสน บุพ.กัม.อนมตาจเตอนุคจฺ-ฉิยมานคฺคาจาติอนมตคฺคา.ตทัสสิตัท.อนมตคฺคาอสฺสอตฺถีติอนมตคฺโค (สํสาโร วฎฺฎสํสาโร).มีสำนวนแปลอีกคือมีที่สุดอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว, มีที่สุดอันบุคคลไม่รู้แล้ว, มีที่สุดและเบื้องต้นอันใครๆ ไปตามไม่รู้แล้ว, มี่ที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว.
  50. อนย : (วิ.) ไม่ควรแนะนำวิ.นเนตพฺพนฺติอนยํ.นปุพฺโพ, นินีวานเย, อ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | [4251-4300] | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4540

(0.1163 sec)