เทณฺฑิม : (ปุ.) มโหระทึก วิ. เทณฺฑิอิติ มาติ สทฺทายตีติ เทณฺฑิโม. มา มาเณ สทฺเท จ, โณ.
เทว : (ปุ.) เทวะ ชื่อของเทพทั้ง ๓ คือ อุปัตติ เทพ วิสุทธิเทพ และ สมมุติเทพ, เทพ, เทพเจ้า, เทพยะ, เทพยดา, เทพบุตร, เทวดา. วิ. ทิพฺพนติ ปญฺจกามคุณาทีหิ กีฬนฺตีติเทวา. ทิวุ กีฬายํ, โณ. วิ. นี้เฉพาะ อุปัตติเทพ และสมมุติเทพ. เทวะที่หมาย ถึงวิสุทธิเทพ มี วิ. ว่า โลกุตฺตรธมฺเม โลกุตฺตรธมฺเมหิ วา ทิพฺพนฺติ เทโว (ผู้บรรลุโลกุตตรธรรม หรือผู้รุ่งเรืองด้วย โลกุตตรธรรม). ทิวุ คติยํ ชุติยํ วา, โณ.
เทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดง, การแสดง, การบรรยาย, การชี้แจง, การแถลง, การสอน, เทสนา, เทศนา (การแสดงธรรม คำสั่งสอนในทางศาสนา). วิ. เทสียตีติ เท สนา. เทสนํ วา เทสนา, ทิสฺ ทิสิ วา อุจุจารเณ, ยุ, อิศฺถิยํ อา.
โทณ : (ปุ. นปุ.) โทณะชื่อเครื่องตวงอย่างหนึ่งเท่ากับ๔อาฬหกะอาฬหกะ๑เท่ากับ๔ปัตถุ.วิ.ทวติปวตฺตตีติโทณํ.ทุคมเน,โณ.ทุณฺวาคติยํหีสายญฺจ,โณ.
โทณี : (อิต.) เรือชะล่า โบราณเขียนฉะหล้า, สัดจอง (ทุ่น แพ เรือ), เรือโกลน. วิ. ทวติ วหตีติ โทณี. ทุณฺ คติหึสาสุ, อ, อิตฺถิยํ อี.
โทลา โทลี : (อิต.) ชิงช้า, คานหาม, เปล. วิ. ทุยตีติ โทลา โทลี วา. ทุ ปริตาเป, โล. อา, อี อิต. ส. โทล. โทลิกา.
โทหฬ : (ปุ.) ฉันทะนี้แห่งบุคคลผู้มีหทัยสอง, ฉันทะอันเป็นการทำแห่งบุคคลผู้มีหทัย สอง, ความปรารถนาของหญิงตั้งครรภ์, การอยาก, การแพ้ท้อง, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. โทหปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ฬตฺตํ ทฺวิปุพฺโพ วา, หลฺ กมฺปเน, อ, ทฺวิสฺสโท, ลสฺส โฬ. ทุฏฐ หทย เมเตนาติ วา โทหโฬ. ทุฏฐสฺส โท, ทหยสฺสหโฬ เทฺว หทยา อสฺส ปรมตฺถสฺสาติ วา โทหโฬ. ทวิสฺส โท, หทยสฺส หโฬ. หรือแปลง ทฺวิ เป็น โท แปลง ท เป็น ฬ ลบ ย. ทุธา หทยํ เอตีติ โทหโฬ. ฎีกาอภิฯ วิ. โทหํ ลาตีติ โทหโฬ. ส. โทหล.
ธญฺญ : (วิ.) มีบุญ, มีสิริ, ดี, เจริญ, มั่งมี, รุ่งเรือง, ร่าเริง, สำราญ, เลิศ. ธนฺ ธญุเญ, โย, นฺยสฺส โย. ทฺวิตฺตํ. รูปฯ ๓๙๓ ณฺย ปัจ. ๖๔๔ ย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๐ วิ. ธนาย สํวลฺลตีติ ธญฺญํ (เป็นไปเพื่อ ทรัพย์).
ธน : (นปุ.) เงิน, ทรัพย์, สิน (เงิน ทรัพย์), สินทรัพย์. สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ. อภิฯ วิ. มม อิทนฺติ ธนายิตพฺพํ สทฺทายิตพฺพนฺติ ธนํ. ธนฺ ธญฺเญ, สทฺเท วา, อ. เวสฯ ๔๘๗ วิ. ธนียติ อิจฺฉียตีติ ธนํ. ธนฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ธน, ทฺรวฺย.
ธมฺมกาม : (ปุ.) ความยินดีซึ่งธรรม, ความใคร่ซึ่งธรรม, ความปรารถนาซึ่งธรรม. ทุ. ตัป. ความยินดีในธรรม, ฯลฯ. ส. ตัป. บุคคลผู้ยินดีซึ่งธรรม, บุคคลผู้ยินดีใน ธรรม, ฯลฯ, บุคคลผู้นิยมซึ่งธรรม, บุคคลผู้นิยมในธรรม. วิ. ธมฺมํ ธมฺเม วา กามยตีติ ธมฺมกาโม. ธมฺมปุพฺโพ, กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, โณ.
ธมฺมจาร : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรตีติ ธมฺมจาโร. ณ ปัจ.
ธมฺมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรตีติ ธมฺมจารี. ผู้ประพฤติซึ่งธรรมโดยปกติ. วิ. ธมฺมํ จรติ สีเลนาติ ธมฺมจารี. ผู้มีความประพฤติซึ่งธรรมเป็นปกติ วิ. ธมฺมํ จริดฺ สีล มสฺสาติ ธมฺมจารี. ผู้มีปกติ ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จรณสีโลติ ธมฺมจารี. ธมฺมปุพฺโพ, จรฺ จรเณ, ณี.
ธมฺมฎฐ : (วิ.) ผู้ตั้งซึ่งธรรม, ผู้ดำรงอยู่ใน ธรรม. วิ. ธมฺเม ติฎฺฐตีติ ธมฺมฎโฐ. ธมฺม+ ฐา+อปัจ.
ธมฺมทินฺน : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งธรรม, ผู้ให้ซึ่งความรู้, ผู้ให้ธรรม, ผู้ให้ความรู้. วิ. ธมฺมํ ททาตีติ ธมฺมทินโน. ธมฺม+ทา+ตปัจ. แปลง ต เป็น อินฺน รูปฯ ๕๙๓.
ธมฺมธร : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งธรรม, ผู้ทรงซึ่งธรรม, ผู้ทรงธรรม. วิ. ธมฺมํ ธรตีติ ธมฺมธโร, อปัจ.
ธมฺมมิลฺล : (ปุ.) ผมที่ถัก (ประกอบด้วยแก้วมุก ดาเป็นต้น) วิ. กุสุมคพฺภา เกสา เกสจูฬา มุตฺตาทินา พหิสํยตา สนฺตตา ธมฺมิลฺโลนาม. เอกโต กตฺวา ธรียติ พนฺธียตีติ ธมฺมิลโล. ธรฺ ธารเณ, อิโล, รสฺส มตฺตํ, ทฺวิตฺตํ, ลสฺส ลลตฺตํ จ. ฎีกาอภิฯ ไม่แปลง ล เป็น ลฺล จึงเป็น ธมฺมิล. ส. ธมฺมิลฺล.
ธมฺมราช : (ปุ.) พระราชาแห่งะรรม, พระราชาโดยธรรม, พญาโดยธรรม, พระธรรมราชาเป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ธมฺมสฺส ราชา ธมฺมราชา. ธมฺมสฺส วา ราชาปวคฺคกคฺคา ธมฺมราชา. ธมฺมเมน ราชตีติ วา ธมฺมราชา. ส. ธรฺมราช.
ธมฺมวิจย : (วิ.) ผู้เลือกเฟ้นวึ่งธรรม, ผู้ค้นคว้าซึ่งธรรม, ผู้คัดเลือกซึ่งธรรม. วิ. ธมฺมํ วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ผู้เลือกเฟ้นซึ่งธรรมอันเป็นไปภายในและภายนอกอันเป็นภูมิของวิปัสสนา วิง วิปสฺสนาย ภูมิภุเต อชฺฌตฺตพิหิทฮชฺธา ธมฺมเม วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ธมฺม+วิ+จิ+อปัจง แปลง อิ เป็น เอ เอ เป็น อย. รูปฯ ๕๕๒
ธรณี : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน, โลก. วิ. สพฺพโลกํ ธรตีติ ธรณี ธรฺ ธารเณ, อณี. ไม่ลบ ณฺ หรือ ยุ ปัจ. อี อิต. รูปฯ ๖๖๓ ลง อิ ปัจ. เป็น ธรณิ ธรณ+อิปัจ. ส. ธรณิ, ธรณี.
ธวตฺถินี : (อิต.) หญิงผู้ต้องการผัว, หญิงผู้ปรารถนาผัว. วิ. ธวํ อตฺถยตีติ ธวตฺถินี. ธวปุพฺโพ, อตฺถฺ ยาจนิจฉาสุ, อินี.
ธาราธร : (ปุ.) เมฆ วิ. ชลธารํ ธาเรตีติ ธาราธโร. ลบ ชล.
ธิ : (อิต.) คุณชาติผู้ทรงไว้ซื่งประโยชน์, ปรีชา, ปัญญา. วิ. อตฺถํ ธาเรตีติ ธิ. ธา ธารเณ, อิ.
ธี : (อิต.) ปรีชา, ปัญญา. วิ. ฌายตีติ ธี, เฌ จินฺตายํ, กฺวิ, ฌสฺส โธ, เอการสฺส อีกาโร. ธาเรตีติ วา ธี. ธา ธารเณ, สํขาเรสุ วิกาโร ชายติ เอตายาติ วา ธี, ชนฺ ชนเน, ชนสฺส ชา. แปลง ชา เป็น ธา แปลง อา ที่ ธา เป็น อี.
ธีร : (วิ.) ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, ผู้มีปัญญา วิ. ธี ปญฺญา อสฺส อตฺถีติ ธีโร. ร ปัจ, ธาเรตีติ วา ธีโร. ธา ธารเณ, โร, อาการสฺส อีกาโร. ผู้ถือเอาด้วยปัญญา วิ. ธิยา ปญฺญาย ราตีติ ธีโร. ธีปุพฺโพ, รา อาทาเน, อ. ผู้ชำนาญ, ผู้มั่นคง, ผู้แข็ง แรง. ฐา คตินิวุตฺติยํ, โร. แปลง ฐฺ เป็น ธฺ แปลง อา เป็น อี ส. ธีร.
ธีรวร : (ปุ.) ประมง (การจับสัตวน้ำ) ปะมง ประโมง ก็ใช้, คนจับปลา, ชาวประมง วิ. ชาลกุมินาทีนิ ธาเรตีติ ธีวโร. ธา ธารเณ, อีวโร. ส. ธีวนฺ, ธีวร.
ธุต : (ปุ.) ภาวะอันขจัดซึ่งธรรมอันเป็นอกุศล วิ, อกุสสธมฺเม ธุนาตีติ ธุโต, ธุ วิธุนเน, โต.
ธูมฺยาฏ : (ปุ.) นกกระแวน วิ. ธูมฺยํ ธูมํ อฏตีติ ธูมฺยาโฏ. ธูมฺยปุพโพ, อฏ คติยํ, โณ.
เธนุ : (อิต.) นม (นมที่มีน้ำนม). โคนม, แม่ โคนม, วิ. ธยติ อิโต ขีรํ โปตโกติ เธนุ. รูปฯ ๖๖๕ วิ. ธายติ วจฺฉํ ปาเยตีติเธนุ. เธปาเน, นุ, ส. เธนุ.
โธรยฺห : (วิ.) ควรเพื่ออันนำไปซึ่งธุระ วิ, ธุรํ วหิตุ มรหตีติ โธโยฺห. ณ ปัจ, ราคาทิตัท.แปลง ว เป็น ย หรือลง ยฺห ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๒ ลง ยฺหณฺ ปัจ. ผู้นำไปซึ่ง ธุระ วิ. ธุรํ วหตีติ โธรโยห.
นกฺก : (ปุ.) จระเข้ วิ. น กมตีติ นกฺโก. นปุพโพ กมฺ คติยํ, กฺวิ. ลบที่สุดธาตุ ซ้อน กฺ คง น ไว้ไม่แปลง หรือตั้ง นกฺกฺ นาสเน, อ. ส. นกฺร.
นกฺขตฺต : (นปุ.) ลาว, ดวงดาว, ดาวฤกษ์, ฤกษฺ (ดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊ส ทรงกลมสามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัว), นักษัตร (ดาวฤกษ์มี ๒๗ กลุ่ม). วิ.ปุนปฺปุนํ อุทยโต น ขียเตติ นกฺขตฺตํ. นปุพฺโพ, ขี ขเย. โต. แปลง อี เป็น อ แปลง ต เป็น ตฺต ซ้อน กฺ. อตฺตโน คมนฏฐานํ น ขรติ น วินาเสตีติ วา นกฺขตฺตํ ขรฺ ขเย, นกฺขตีติ วา นกฺขตฺตํ. นกฺขฺ คติยํ, โต. เอตโต อิโต จาติ วิสมคติยา อคนฺตฺวา อตฺตโน วีถิยา ว คมเนน นกฺขนํ คมนํ ศายตีติ วา นกฺขตฺตํ. ตา เต วา ปาลเน. ส. นกฺษตฺร.
นกุล : (ปุ.) พังพอน วิ. นตฺถิ กุลํ เอตสฺส สปุเปลูติ นกุโล. น+กุล. สปฺเป นาเสตีติ วา นกุโล. นกฺกฺ นาสเน. อุโล, กฺโลโป. ใน วิ, ใช้ นสฺ ธาตุแทน. ส. นกุล.
นคฺค : (วิ.) เปล่า, เปลือย, เปลือยกาย. วิ. น คจุฉตีติ นคฺโค. นปุพฺโพ คมฺ คติยํ, กฺวิ. ลบ มุ แปลง ค เป็น คฺค หรือตั้ง ลคฺค สงฺเค, อ. แปลง ล เป็น น หรือ ตั้ง นชิ ลชิ ชิเลย, โณ. แปลง ช เป็น ค แล้วแปลงเป็น คฺค ธาตุหลังแปลง ล เป็น น. ส. นคฺน.
นครโสภินี : (อิต.) หญิงผู้ยังนครให้งาม วิ. นครํ โภเภตีติ นครโสภิณี. หญิงผู้งามในนคร วิ. นคเร โสภิณี นครโสภิณี. หญิง งามเมือง, หญิงคนชั่ว, หญิงแพศยา, หญิงนครโสภิณี, หญิงนครโสเภณี. อภิฯ และ ฏีกาอภิฯ เป็น นครโสภินี.
นงฺคล : (นปุ.) ไถ ชื่อเครื่องมือสำหรับไถดิน วิ. ภูมินงฺคํ กโรนฺโต ลุนาตีติ นงฺคลํ, ภูมินงฺคํ กโรนฺโต ลุนาตีติ นงฺคลํ. ภูมินงฺคปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, ภูมิโลโป.
นงฺคุฏฺฐ : (นปุ.) หาง, หางม้า. วิ. น องฺคตีติ นงฺดุฏฺฐ. นปุพฺโพ, องฺคฺ ดมเน. อภิฯ ลง ฏฺฐปัจ. ฏีกาอภิฯ และรูปฯ ลง ฐ ปัจ. ซ้อน ฎฺ แปลง อ ที่ ค เป็น อุ.
นที : (อิต.) แม่น้ำ, นัทรี, วิ. อภิฤขณํ นทตีติ นที, ส. นที.
นนฺทา : (อิต.) นันทา ชื่อสระโบกขรณีของ พระอินทร์ วิ. นนฺทียตีติ นนฺทา. นนฺทฺ ธาตุ อ ปัจ. อาอิต.
นนนฺทา : (อิต.) พี่น้องหญิงของผัว วิ. สามิโน ภตฺตุ ภคินี นนนฺทา นาม. น นนฺทคตีติ วา นนนฺทา. นปุพโพ, นนฺทฺ สมิทฺธิยํ, อ. ไม่แปลง น เป็น อ เป็น ปกติสนธิ.
นปุสก : (ปุ.) บัณเฑาะก์ (กะเทย), กะเทย (คนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง หรือ คนที่มีจิตใจกิริยาอาการตรงกันข้ามกับเพศของตน). คนมิใช่ชายมิใช่หญิง, คนมิใช่ หญิงมิใช่ชาย. วิ. อิตฺถีภาวปุมภาวรหิโต ปุคฺคโล, โส หิ ปุริโส วย สาติสยํ ปจฺจา- มิตฺเต น ปุเสติ อภิมทฺทนํ กาตํ น สกฺโกตีติ นปุสโก (ข่มขี่ข้าศึกไม่ได้). นปุพฺโพ. ปุสฺอภิมทฺทเน, ณฺวุ, นิคฺคหิตาคโม, เกจิ ปน น ปุมา น อิตฺถีติ นปุสโกติ ลจนตฺถํ วทนฺติ.
นมมทา : (อิต.) นัมมทา ชื่อแม่น้ำสายที่ห้าใน สาย. วิ. นมมํ สุขํ ททาตีติ นมมทา (ให้ความสุข).
นมุจิ : (ปุ.) นมุจิ ชื่อมารชื่อ ๑ ใน ๘ ชื่อ, มาร. วิ. อกุสลธมฺเม น. มุญฺจตีติ นมุจิ (ไม่ละ อกุศลธรรม). นปุพฺโพ, มุจ โมจเน, อิ. ส. นมุจิ ว่า กามเทพ.
นย : (ปุ.) ภาวะเป็นเครื่องนำไป วิ. นยติ เอเตนาติ นโย. ภาวะอัน... ย่อมนำไป วิ. นียตีติ นโย. การนำ, การนำไป, การดำเนินไป, การแนะนำ, การสั่ง, คำสั่ง, ความไป, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, ความควร, ความสมควร, ความชอบ, ความถูกต้อง, ความสมเหตุสมผล, ความสมเหตุผล, ความคาดคะเน, อาการ, อุบาย, เล่ห์เหลี่ยม, วิธี, ทาง, แบบ, แบบอย่าง, นัย ( ข้อความข้อเค้า เค้าความใจความ เนื้อความ). วิ. นยนํ ปวตตนํ คมนํ วา นโย. นิ นี นย. วา นยเน, อ. ส. นย, นาย.
นยน : (นปุ.) ตา, ดวงตา, นัยน์, นัยน์ตา. วิ. เนติ อตตโน นิสสิตํ ปุคคลนติ นยนํ. นี ปาปุณเน, ยุ. อภิฯ. รูปฯ ๕๘๑ วิ. นยตีติ นยนํ นียติ เอเตนาติ วา นยนํ. นี นยเน. การถึง, การบรรลุ, การได้, การนำ, การนำไป, ความถึง, ฯลฯ. วิ. นยนํ คมนํ นยนํ ส. นยน.
นร : (ปุ.) คน, บุคคล, มนุษย์, สัตวโลก, บุรุษ, ชาย, นระ, นรชน, นาย. วิ เนตีติ นโร. นิ นี นยเน, อโร. นรตีติ วา นโร. นร นยเน, อ. ที่เป็นพหุ. แปลว่าประชาชน. ส. นร, นฤ.
นาคร : (ปุ.) ชนผู้เกิดในนคร, ชนผู้อยู่ในนคร, ชาวพระนคร, ชาวเมือง, ชาวกรุง. วิ. นคเร ชาตา นาครา. นคเร วสนฺตีติ วา นาครา.
นาฏฺย : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อน, การฟ้อนรำ, การแสดงละคร, การขับ, การขับร้อง, การประโคม (คือ การบรรเลงดนตรี เพื่อสักการบูชาหรือ ยกย่อง), การประโคมดนตรี, การดีดสีตี เป่า. นฏฺ นตฺยํ, โณฺย. นจฺจํ วาทิตํ คีตํ อิติ อิทํ ตุริยติกํ นาฏยนาเมนุจฺจเต. อภิฯ.
นาภิ : (อิต.) ดุม ชื่อของส่วนกลางล้อเกวียน หรือล้อรถที่มีรูสำหรับสอด, สะดือ, ท้อง, ศูนย์กลาง. วิ. นภตีติ นาภฺ หึสายํ, อิ, ณิ วา. ส.นาภิ, นาภี.
นาม : (นปุ.) ความน้อนไป, ความน้อมไปใน อารมณ์ทั้ง ๖, ชื่อ, นาม คือคำชนิดหนึ่ง ในไวยากรณ์ สำหรับเรียก คน สัตว์ ที่ และสิ่งของต่างๆ หรือชื่อของสิ่งที่มิใช่รูป คือจิตและเจตสิก เรียกว่านามธรรมหรือ อรูปธรรม ซึ่งเป็นคู่กับ รูปธรรม. วิ. นมฺยเต อตฺถยเต อตฺถยสฺวิติ นามํ. นาเมหิ นามยตีติ วา นามํ. ส. นามนฺ.
นารก : (ปุ.) สัตว์ผู้ไปสู่นรก, สัตว์นรก. วิ. นรกํ คจฺฉตีติ นารโก. ณก ปัจ.