Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตี , then ติ, ตี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตี, 4540 found, display 551-600
  1. ปูปิย ปูวิย : (ปุ.) คนขายขนม วิ. ปูเปน ปูเวน วา ชีวตีติ ปูปิโย ปูวิโย วา. อิยปัจ.
  2. โปฏคล : (ปุ.) ต้นเป้ง, หญ้าเลา หญ้าดอกเลา (ต้นไม้พวกอ้อดอกสีขาวมอๆ), หญ้าปล้อง ชื่อหญ้าชนิดหนึ่งต้นเป็นข้อๆ ในข้อมีไส้เป็นปุยขาว ชอบขึ้นในน้ำ, ต้นอ้อ, ไม้อ้อ, ต้นเป้ง. วิ. ปุฏ มญฺญมญฺญสํสคฺคํ คจฺฉตีติ โปฏคโล. ปุฏปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อ, อุสฺโส, มสฺส โล.
  3. ผคฺคว : (ปุ.) ขี้เหล็ก, บอระเพ็ด. วิ. ยํ วาตํ คณฺหาตีติ ผคฺคโว. ผปุพฺโพ, คหฺ คหเน, อ, หสสฺ โว.
  4. ผณิชฺชก : (ปุ.) เฉียงพร้ามอญ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง กิ่ง ใบ และต้นสีม่วงดำ ใช้ทำยา เฉียงพร้ามอง ก็เรียก. วิ. ผณึ ชยตีติ ผณิชฺชโก. ผณีปุพฺโพ, ชี ชเย, อ. แปลง อี เป็น เอ เอ เป็น อย แปลง ย เป็น ก เป็น ผณิชฺฌก โดยแปลง ชฺ เป็น ฌฺ บ้าง. ผักคราด ตะไคร้ แมงลัก ก็ว่า.
  5. ผาล : (ปุ.) ผาล ชื่อเหล็กสำหรับสวมหัวหมู เครื่องไถ. วิ. ภูมึ ผาลตีติ ผาโล. ผาลฺ วิเลขเณ, โณ. ผาลยติ ภูมึ เยน โส ผาโล.
  6. ผุลิงฺค : (นปุ.) ประกายไฟ, แสงที่กระจายออกจากไฟ. วิ. ผุลฺลํ คจฺฉตีติ ผุลิงฺคํ. กฺวิ ปัจ. ลบ ล. สังโยค และที่สุดธาตุ เป็น ผูลิงฺค ก็มี.
  7. เผคฺคุ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, หาแก่นมิได้, ไร้สาระ. วิ. ผลติ นิปฺผลํ คจฺฉตีติ เผคฺคุ (ถึงซึ่งความมีผลออกแล้ว ไม่มีผล). ผลฺ นิปฺผตฺติยํ, คุ, อสฺเส, ลสฺส โค.
  8. พก : (ปุ.) นกยาง, นกยางโทน ชื่อนกยางชนิดหนึ่ง. วิ. วกติ โคจรํ อาททาตีติ พโก. วกฺ อาทาเน, อ, วสฺส โพ. เวสฯ เป็น พกฺอาทาเน.
  9. พนฺธกี : (อิต.) หญิงไม่ดี วิ. พนฺธน มนุพนฺธํ กายตีติ พนฺธกี.
  10. พนฺธุ : (ปุ.) พวกพ้อง, พงศ์, พงศ์พันธุ์, ญาติ, ญาติพี่น้อง, วงศ์, วงศ์วาน. วิ. พนฺธตีติ พนฺธุ. พนฺธียติ สิเนหภาเวนาติ วา พนฺธุ. พนฺธฺ พนฺธเน, อุ, ณุ วา. อตฺตนิ ปรํ พนฺธตีติ วา พนฺธุ. อยํ อมุหากํ วํโสติ สมฺพนฺธิตพฺพฏฺเฐน เปมพนฺธเนน พนฺธตีติ วา พนฺธุ.
  11. พฺยคฺฆ : (ปุ.) เสือ, เสือลาย, เสือโคร่ง, ปีขาล. วิ. วีนํ หนฺตฺวา อาฆายตีติ วฺยคฺโฆ พฺยคฺโฆ วา. ฆา คนฺโธปาทาเน, โณ.
  12. พฺยมฺห : (นปุ.) เทววิมาน, เมืองสวรรค์, ฟ้า. วิ. วิเห อากาเส คจฉฺตีติ วฺยมฺหํ วา. อมปัจ. แปลง อิ เป็น ย แปร ม ไว้ หน้า ห.
  13. พฺยาธ : (ปุ.) พราน, นายพราน. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาโธ พฺยาโธ วา. วิชฺ วิชฺฌเน, โณ. แปลง อิ เป็น ย แล้วทีฆะ.
  14. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  15. พฺยาธิฆาตก : (ปุ.) ราชพฤกษ์, ต้นราชพฤกษ์. วิ. วฺยาธึ หนฺตีติ วฺยาธิฆาตโก พยาธิฆาตโก วา. หนฺ หึสายํ, ณฺวุ. หนสฺส ฆาโต.
  16. พฺรหฺมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ. วิ. พฺรหฺมํ จรตีติ พฺรหฺมจารี. ณี ปัจ. ผู้ประพฤติพรหมจรรย์ วิ. พฺรหฺมจริยํ จรตีติ พฺรหฺมจารี. ผู้ประพฤติพรหมจรรย์โดยปกติ, ฯลฯ. คำแปลและ วิ. อีก ดู ธมฺมจารี เทียบ.
  17. พฺรหาหฺมณ : (ปุ.) พราหมณ์ มีความหมายดังนี้.- ๑. เป็นชื่อของชนวรรณะหนึ่ง วิ. พฺรหฺมํ อณตีติ พฺราหฺมโณ. มนฺเต สชฺชายตีติ อตฺโถ, พฺรหฺมปุพฺโพ, อณฺ สทฺเท, โณ. พฺรหฺมุโน อปจฺจํ พฺราหฺมโณ. ณ ปัจ. โคตตตัท. นฺ อาคม แปลง นฺ เป็น ณฺ. เขาถือว่า พวกเขาเกิดจาก อุระ หรือปากของพระพรหม.และ ๒. เป็นชื่อของพระอริยเจ้า พระอรหันต์ พาหิตปาปตฺตา พฺราหฺมโณ ชื่อ พระอรหันต์ เพราะความเป็นผู้มีบาปอันลอยแล้ว (ละบาปได้แล้ว).
  18. พล : (นปุ.) ใบ, ใบไม้, ส่วน, ส่วนแบ่ง,ฝัก, ฝักดาบ, ท่อน, ตอน, กลีบ, กลีบดอกไม้. วิ. ทลตีติ ทลํ วิกสเน, อ. เป็น ทลฺล บ้าง ส. ทล.
  19. พลิพทฺท พลิวทฺท : (ปุ.) โคมีกำลังอันเจริญ, โคใช้งาน, โคถึก (เปลี่ยว หนุ่ม), โคผู้เนื่องแล้วด้วยกำลัง, โคผู้. วิ. พลํ วทฺธยตีติ พลิวทฺโท พลิพทฺโท วา. พลปุพฺโพ, วทฺธฺ วฑฺฒนปูรเณสุ, อ. แปลง ธ เป็น ท.
  20. พหุ : (วิ.) เจริญ, หนักหนา, มาก, หลาย, ใหญ่, ใหญ่โต, อะโข, อักโข. วิ. พหติ วุทฺธึ คจฺฉตีติ พหุ. พหฺ วุทฺธิยํ, อุ.
  21. พหุล : (วิ.) เจริญ, หนักหนา, มาก. วิ. พหูอตฺเถ ลาตีติ พหุลํ. ลา อาทาเน, อ. พหุสัขฺยาเณ วา, อโล.
  22. พหุลา : (อิต.) กระวาน, กระวานใหญ่. วิ. พหโว อตฺเถ ลาตีติ พหุลา. พหุโรเค ลุนาตีติ วา พหุลา, ลุ เฉทเน, อ.
  23. พาล : (วิ.) ผู้ตัดประโยชน์ทั้งสองอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าประโยชน์ของตนและประโยชน์ของบุคคลอื่น, เขลา, โง่, เซอะ, พาล. วิ. เทฺว อตฺตตฺถปรตฺถสํขาเต อตฺเถลุนาตีติ พาโล. ทฺวิ+ลา ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. แปลง ทฺวิ เป็น พา. อ่อน, ไร้เดียงสา, เล็ก. พลฺ ปาณเน, โณ แปลว่า ชั่ว, ร้าย, ดุ, ดุร้าย อีกด้วย.
  24. พาฬฺห : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นัก, หนักหนา. วิ. พหุลาตีติ พาฬฺหํ. พหุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, อุโลโป, ลสฺส ฬตฺตํ, วณฺณวิปริยาโย. พหฺวุทฺธิยํ วา, อโฬ. แปร ฬ ไว้หน้า ห ทีฆะ.
  25. พิมฺโพหน : (นปุ.) หมอน, เขนย. วิ. วิเสเสนสีสํ วห-ตีติ พมฺโพหนํ. วเสสปุพฺ-โพ, วหฺปาปุณเน, ยุ, ลบ สฺส แปลง ว ทั้งสองเป็น พ แปลง อ ที่ พ ตัวหลัง เป็น โอ นิคคหิตอาคม.
  26. พิลงฺค : (ปุ.) น้ำผักดอง, น้ำส้ม, น้ำส้มพะอูม (เครื่องกินกับข้าวของแขก), น้ำพริก. วิ. วาตํ ลงฺคติ หีนํ กโรตีติ พิลงฺโค. วาตปุพฺโพ, ลคิ คมเน, อ, วาตสฺส พิ. วิเสเสน ลงฺ-คตีติ วา พิลงฺโค.
  27. พิลาล : (ปุ.) แมว วิ. มูสิกาทิปาทเนน พลตีติ พิลาโล. พลฺ ปาณเน, อโร. แปลง ร เป็น ล หรือ ตั้ง พิลฺ เภทเน. ก็ได้.
  28. โพธกร : (ปุ.) คนทำซึ่งการปลุก, คนให้คนอื่นรู้ด้วยเสียงดาล, คนนั่งยามตีทุ่มโมง. วิ. โพธํ ปโพธนํ กโรตีติ โพธกโร. โพธ-ปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ.
  29. โพนฺทิ : (ปุ.) รูป, กาย, ร่างกาย, สรีระ. วิ. พุนฺทานิ ติกฺขานิ ปิสุณผรุส-วาจาทีนิ วา ปญฺญาวิริยาทีนิ วา เอตฺถ สนฺตีติ โพนฺทิ. วุโนติ เอตฺถาติ วา โพนฺติ. วุ สํวรเณ, ทิ, นิคฺคหิตาคโม. แปลง อุ เป็น โอ ว เป็น พ.
  30. ภคุ : (ปุ.) ภคุ ชื่อฤาษีผู้แต่งมนต์ตน ๑ ใน ๑๑ ตน วิ. ภํ นกฺขตฺตํ คจฺฉติ ชานาตีติ ภคุ, ภปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อุ. ลบที่สุดธาตุ. ภรตีติวา ภคุ. ภรฺ ภรเณ, คุ, รฺโลโป.
  31. ภงฺค : (ปุ.) ระลอก, คลื่น, ภังคะ, ภางค์. วิ. สยเมว ภิชฺชตีติ ภงฺโค. ภญฺชฺ อวมทฺทเน, อ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ. จันทร์กะพ้อ ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง ดอกขาวคล้ายดอกพะยอมหอมคล้ายดอกจันทน์?.
  32. ภจฺจ : (ปุ.) สัตว์อันบุคคลพึงเลี้ยง, บ่าว, ไพร่, บ่าวไพร่, ข้าใช้, คนรับใช้, คนใช้, อำมาตย์. วิ. ภรียตีติ ภจฺโจ. ภรฺ ธารณโปสเนสุ, ริจฺจปจฺจโย. ลบ รฺ, รฺ และ อิ. ภริตพฺโพติ วา ภจฺโจ. รูปฯ ๕๔๒. โมคฯ ลง ย ปัจ. แปลงเป็น จฺจ ลบ รฺ อีกอย่างหนึ่งว่ามาจาก ภต ศัพท์ แปลง ต เป็น จ ซ้อน จฺ ว่านน้ำ ก็แปล.
  33. ภตก : (ปุ.) ชนผู้บริโภคซึ่งค่าจ้าง, ลูกจ้าง, คนรับใช้ คนใช้. วิ. ภตึ ภุญฺชตีติ ภตโก. ภติ ก ปัจ. แปลง อิ เป็น อ อภิฯ.
  34. ภทฺทาลิ : (ปุ.) ภัททาลิ ชื่อพระ วิ. ภทฺทํ ยสํ ลาตีติ ภทฺทาลิ. อิ ปัจ. กัจฯ ๖๖๙.
  35. ภมร : (ปุ.) ผึ้ง, แมลงผึ้ง, แมลงภู่, ภมร, ภมริน, วิ. ปุปผมตฺถเก ภมตีติ ภมโร. ภมุ อนวฏฺฐเน, อโร. แปลว่าเครื่องกลึง ก็มี.
  36. ภมุกา : (อิต.) คิ้ว. วิ. ภมติ จรตีติ ภมุ ภมุโก ภมุกา วา. ภมุ อนวฏฺฐเน, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือ อุก ปัจ.
  37. ภมุ ภมุก : (ปุ.) คิ้ว. วิ. ภมติ จรตีติ ภมุ ภมุโก ภมุกา วา. ภมุ อนวฏฺฐเน, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือ อุก ปัจ.
  38. ภาค : (วิ.) อันเขาแบ่ง วิ. ภชียตีติ ภาโค. ภชฺ ภาชเน, โณ, ชสฺส โค.
  39. ภาตุ : (วิ.) ผู้เป็นพี่น้องชายกัน, ฯลฯ. วิ. ภาตีติ ภาตา. ภาสฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, ราตุ. ลบ สฺ ลบ รา. ผู้พูดก่อน (พี่ชาย) วิ. ปุพฺเพภาสตีติ ภาตา.
  40. ภารวาห : (ปุ.) คนนำของหนักไป, คนผู้แบก, คนผู้หาบ. วิ. ภารํ วหตีติ ภารวาโห. ภารปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, โณ.
  41. ภิงฺคราช : (ปุ.) ตองแตก ชื่อต้นไม้ เถาใบเป็นสองแฉก. วิ. ภมตีติ ภิงฺโค วุจฺจติ ภมโร. ตพฺพณฺรํ กตฺวา เตสํ รญฺเชตีติ ภิงฺคราโช.
  42. ภิสปุปฺผ : (นปุ.) ดอกบัว, ปทุม. วิ. ภิสโตปิ อุคฺคนฺตวา ปุปฺผตีติ ภิสปุปฺผํ. ภิสปุพฺโพ, ปุปฺผฺ วิกสเน, อ.
  43. ภีรุ ภีรุก : (วิ.) กลัว, ขลาด, ขี้ขลาด, สะดุ้งกลัว. วิ. ภายตีติ ภีรุ ภีรุโก วา. อถวา, ภายนสีโล ภีรุ ภีรุโก วา. ภี ภเย, รุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือลง รุก ปัจ. หรือ ลง ณุก ปัจ. ลบ ณฺ แล้ว ลง รฺ อาคม.
  44. ภุชค : (ปุ.) สัตว์ผู้ไปด้วยขนาด, งู, นาค, นาคราช. วิ. ภุ-เชน คจฺฉตีติ ภุชโค. ภุชปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, กฺวิ.
  45. ภุชงฺค ภุชงฺคม : (ปุ.) แปลเหมือน ภุชค. วิ. ภุเชน คจฺฉตีติ ภุชงฺโค ภุชงฺคโม วา. ศัพท์ต้น กฺวิ ปัจ. ศัพท์หลัง อ ปัจ. ลง นิคคหิตอาคม.
  46. ภูธร : (ปุ.) เขา, ภู, ภูเขา. วิ. ภํ ภูมึ ธรตีติ ภูธโร. ภูปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, อ. ไทยใช้ภูธร เป็นพระนามของพระเจ้าแผ่นดินตามความหมายของสันสกฤต.
  47. ภูริ : (ปุ.) คนมีปัญญา, ฯลฯ, นักปราชญ์. วิ. ภูสงฺขาเต อตฺเถ รมตีติ ภูริ. ภูปุพฺโพ, รมฺ รมเณ, กฺวิ, อิ อาคโม.
  48. เภก : (ปุ.) กบ วิ. สปฺปโต ภา-ยตีติ เภโก. ภี ภเย, อิโก, อิสฺส เอ. อถวา, ภายนฺติ เอตสฺมาติ เภโก. ภี ภเย, โก.
  49. โภชน : (นปุ.) วัตถุอัน...พึงกิน, สิ่งอัน...พึงกิน, การกิน, การฉัน, ของกิน, ของบริโภค, เครื่องบริโภค, ข้าว, อาหาร. วิ. ภุญฺ-ชิตพฺพนฺติ โภชนํ. ภุญฺชิ-ยตีติ วา โภชนํ. ภุญฺชนํ วา โภชนํ. ยุ ปัจ.
  50. มกฺขิกา : (อิต.) แมลงวัน วิ. อสูจิอาทีหิ มกฺขตีติ มกฺขิ-ตา. มกฺขิ สํฆาเฏ, ณฺวุ, อิตฺถิยํ อา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | [551-600] | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4540

(0.1069 sec)