Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : คำ, 468 found, display 401-450
  1. อวจนกร : ค. อันไม่กระทำตามคำ
  2. อวชฺชตา : อิต. ใช้ในคำว่า อนวชฺชตา = ความไม่น่าติเตียน, ความไม่มีโทษ
  3. อวญฺญตฺติ : อิต. (ใช้ในคำว่า อนวญฺญตฺติ ) ความไม่ถูกดูถูก
  4. อวเทหก : ค. เต็มอิ่ม, เต็มท้อง เช่นคำว่า อุทราวเทหกโภชนํ = อาหารหนัก
  5. อวฺหายน : (นปุ.) คำเรียก, ฯลฯ.ยุปัจ.แปลงเอเป็นอาย.
  6. อวิสวาเทติ : ก. ให้พูดคำไม่หลอกลวง, ให้พูดแต่วาจาสัตย์
  7. อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ส่วน, แผนก, คอต่อ, มุม, องสา, องศา, ขันธ์, วิ.อนติอมติวาเอเตนาติ อํโส. อนฺ ปาณเน, อมํ คมเน วา, โส, นสฺสมสฺสวานิคฺคหีตํ(แปลง นฺ หรือ มฺ เป็น นิคคหิต). อํสฺ สงฺฆาเต วา, อ.อังสะ ชื่อของผ้าที่ภิกษุสามเณรใช้คล้องเฉวียงบ่าจากบ่าซ้ายมาใต้แขนขวาก็มีรากศัพท์มาจากคำนี้สฺอํศอํส.
  8. อาจริยวาท : ป. อาจริยวาท, คำสั่งสอนที่ปฏิบัติตามที่อาจารย์สอนได้แก่ ลัทธิมหายาน
  9. อาณตฺติ : (อิต.) การบังคับ, ความบังคับ, ข้อบังคับ, ข้อบังคับที่นัดหมายกันไว้, คำบังคัง, คำสั่ง, กฏ.อาณฺธาตุติปัจ.แปลงติเป็นตฺติ.ส. อาชฺญปฺติ.
  10. อาณา : (อิต.) การบังคับ, ความบังคับ, คำสั่ง, คำสั่งบังคับ, อำนาจ, อำนาจปกครอง, อาชญา, อาญา.อาณฺเปสเน, อ, อิตฺถิยํอา.ส. อาชฺญา.
  11. อาณาเทสนา : (อิต.) การแสดงถึงบังคับ, การแสดงถึงข้อบังคับ, คำสอนที่เป็นการบังคับ, คำสอนที่เป็นข้อบังคับ, คำสอนสำหรับบังคับ, อาณาเทศนาได้แก่พระวินัยปิฏก.
  12. อาธาร : (ปุ.) เชิง (เครื่องรองภาชนะทั่ว ๆไป), เชิงบาตร (ขาบาตร), อาธาระเป็นคำเรียกสัมพันธ์บทที่ประกอบด้วยสัตมีวิภัติ (อธิกรณ), การอุปถัมภ์, อ่าง, หม้อน้ำ, ที่ขังน้ำสระ, ร่องน้ำรอบโคนต้นไม้ (อาลวาลก).อาปุพฺโพ, ธรฺธารเณ, โณ.
  13. อาเมณฺฑิต : (นปุ.) อาเมณฑิตพจน์คือคำกล่าวซ้ำๆในเพราะเหตุกลัวโกรธสรรเสริญรีบด่วน แตกตื่น อัศจรรย์ ร่าเริง โศก หรือเลื่อมใสเช่นงู ๆ, พุทโธ ๆ.อาปุพฺโพทฺวตฺติกฺขตฺตุมุจฺจารเณวตฺตติ, เมฑิอุมฺมา-ทเน, โต, อิอาคโม.
  14. อายติกา : ท่อน้ำ, ท่อสูบน้ำ (ไม่ได้บอกชนิดของคำไว้)
  15. อายาจน : (นปุ.) การเชื้อเชิญ, การขอร้อง, การวิงวอน, การอ้อนวอน, คำเชื้อเชิญ, ฯลฯ.อาปุพฺโพ, ยาจฺยาจนายํ, ยุ.
  16. อายุตฺตก : (ปุ.) บุคคลผู้เรียกเก็บซึ่งส่วย, นายส่วย( ส่วยคือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงอีกอย่างหนึ่งคือ เงินที่เก็บจากชายซึ่งมิได้รับราชการเป็นทหารเงินรัชชูป-การก็เรียกปัจจุบันเลิกเก็บแล้ว ), เสมียน, เจ้าพนักงาน, เจ้าหน้าที่.อาปุพฺโพ, อุจฺสมวาเย, โต.แปลงจฺเป็นตฺ กสกัดคำแปลหลังอายุตฺตลงกสกัด.ส. อายุกฺตก.
  17. อารมฺภกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวเริ่มต้น, คำกล่าวเริ่มต้น, คำเริ่มต้น, คำปรารภ, คำนำ.ส.อารมฺภกถา.
  18. อาริสฺย : (วิ.) นี้ของฤาษีวิ.อิสิสฺสอิทํอาริสฺยํ.ณปัจ.ราคาทิตัท.ดูคำต่อไป.
  19. อาลป : ป. การพูด, การสนทนา, คำพูด
  20. อาลปน : (นปุ.) การร้องเรียก, การบอกเล่า, การกล่าว, การพูด, การสนทนา, คำทัก, คำร้องเรียก, คำกล่าวโดยทำต่อหน้า, การกล่าวโดยทำต่อหน้า, วิ.อภิมุขํกตฺวาลปนํอาลปนํ.ส.อาลปน.
  21. อาลุมฺปการ : ค. ปั้นเป็นคำ, แบ่งเป็นคำ
  22. อาโลป : (ปุ.) คำ, คำข้าว, ก้อนข้าว. อาปุพฺโพ สมฺปิณฺฑเน, ลุปฺ เฉทเน, โณ.
  23. อาโลปิก : ค. อันทำเป็นคำข้าว, ประกอบเป็นคำข้าว
  24. อาวาสิก : (วิ.) ผู้อยู่ในอาวาส, ฯลฯ. คำแปล อีก และวิ. เลียนแบบ อารญฺญิก.
  25. อาวุโส : (อัพ. นิบาต) แน่ะท่านผู้มีอายุ, แน่ะ ผู้มีอายุ, ดูกรท่านผู้มีอายุ, ดูก่อนท่านผู้มี อายุ, ท่านผู้มีอายุ, คุณ. เป็นคำสำหรับ นักบวชเรียกนักบวช ผู้มีพรรษาอ่อนกว่า หรือสำหรับนักบวชพูดกับชาวบ้านก็ได้ แปลว่า จ๊ะ เจริญพร ขอเจริญพร. แปลว่า ขอรับ. ก็ได้. พูดกับผู้ชายแปลว่า พ่อ พูดกับผู้หญิง แปลว่า แม่. ส. อายุษมตฺ.
  26. อาสภิวาจา : (อิต.) คำองอาจ, วาจาองอาจ, ฯลฯ, วาจาของบุคคลผู้องอาจ, ฯลฯ.
  27. อิงฺฆ : อ. เตือน; เชิญ ; คำสั่ง, เชิญเถิด, เอาเถิด, ดังเราตักเตือน
  28. อิตฺถมฺภูต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งประการนี้, ถึงแล้ว ซึ่งอาการนี้, ถึงแล้วซึ่งความเป็นอย่างนี้. วิ. อิตฺถํ ภูโต ปตฺโตติ อิตฺถมฺภูโต. คำแปลหลัง วิ. อิตฺถตฺตํ ภูโตติ อิตฺถมฺภูโต. ลบ ตฺต.
  29. อิตถี : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง (ผู้ ในที่นี้เป็นคำ นาม). วิ. อิจฺฉตีติ อิตฺถี (ผู้ปรารถนาชาย). อิจฺฉียตีติ อิตฺถี (ชายอยากได้). นรํ อิจฺฉาเปตีติ อิตฺถี (ผู้ให้ชายปรารถนา). อสุ อิจฺฉายํ, อีสาตฺถีติ สุตฺเตน ตฺถีปจฺจโย, ธาตฺวนฺตสฺส โลโป. อถวา, อิสฺ ปฏฺฐเน, ถี, สสฺส โต. ส. สตฺรี.
  30. อิตฺถี : (อิต.) นาง (คำใช้แทนหญิง), ภรรยา, ภริยา. อุ. ภตฺตา ปญฺญาณมิตฺถิยา. ภัสดา เป็นเครื่องปรากฏแห่งภรรยา.
  31. อิตฺถีลิงฺค : (นปุ.) เพศของหญิง, เพศหญิง, อิตถีลิงค์ คำใช้บอกเพศในบาลีไวยากรณ์. สตฺรีลิงฺค.
  32. อิติหา : อิต. คำสอนที่มีมาแต่อาจารย์สมัยก่อน, โบราณจารีต
  33. อิทฺธ : (อิต.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จกิจนั้น ๆ, ฤทธิ์, เดช. อิธฺ วุฑฺฒิยํ, อิ, ทฺสํโยโค. คำฤทธิ์ ไทยใช้ในความหมายว่า อำนาจศักดิ์สิทธิ์ หรือการทำอะไร ๆ ได้พิเศษกว่าคนอื่น. ส. ฤทฺธิ.
  34. อิทฺธิพล : (นปุ.) กำลังแห่งความสำเร็จ, กำลัง อันยังผลให้สำเร็จ, อิทธิพล (กำลังอำนาจ). คำอิทธิพล ไทยใช้ทั้งในทางดีและทางเสีย ทางดี เช่น อิทธิพลของดวงดาว ทางเสีย เช่น ใช้อิทธิพลบังคับให้ยินยอม.
  35. อินฺทธนุ : (นปุ.) รุ้ง, สายรุ้ง, รุ้งกินน้ำ. วิ. อินฺทสฺส สกฺกสฺส ธนุ อินฺทธนุ. ส. อินฺทฺร ธนุ. ไทยนำคำนี้มาใช้ตามรูปสันสกฤตว่า อนิทรธนู (ออกเสียงว่า อินทะนู) เป็นชื่อ ของเครื่องประดับบ่าทั้งสองข้าง เป็นผ้า เนื้อ เดียวกับเสื้อ เย็บติดกับเสื้อ รูปเรียวเล็กน้อย ด้านทางคอมีรูสำหรับร้อยลูกกระดุม อีกอย่างหนึ่ง ทำเป็นธนูแข็งติดเครื่องหมายยศทั้งสองข้าง. และเป็นชื่อของลายขอบ ที่เป็นกระหนก.
  36. อิสฺสา : (อิต.) ความเกียดกัน, ความชิงชัง, ความหึงหวง, ความริษยา (นิสัยที่เห็นเขา ได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ คิดตัดรอนเขา คิด ทำลายเขา). วิ. อิสฺสติ สตฺเตสุปิ คุเณสุ วจสา มนสา วา โทสาโรปนํ กโรตีติ อิสฺสา. อิสฺส อิสฺสายํ, อ. อิสฺ อิสฺสายํ วา, โส. ไทยนำคำ อิจฉา ซึ่งแปลว่าความหวัง เป็นต้น มาใช้ในความหมายว่าริษยา ดังคำ ว่า อิจฉาตาร้อน. ส. อีรฺษยา.
  37. อุกฺขลิ อุกฺขา อุขา : (อิต.) หม้อ, หม้อข้าว, กระถาง. วิ. อุสตีติ อุกฺขลิ. อุสฺ ทาเห, อิ, สสฺส ขลาเทโส, กฺสํโยโค. คำที่ ๒, ๓ ตั้ง อุขฺ คมเน, อ. คำที่ ๒ ซ้อน กฺ. ส. อุขา.
  38. อุตฺตริมนุสฺสธมฺม : (ปุ.) ธรรมของมนุษย์ ผู้ยิ่ง, ฯลฯ, ธรรมอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, คุณอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, อุตตริมนุสธัม. อุตตริมนุษยธรรม คือคุณธรรม (ความดี ผล) อันเกิดจากการปฏิบัติสมถะ (สมาธิ) ถึงขั้นจิตเป็นอัปปนา หรือจากการปฏิบัติ วิปัสสนาถึงขั้นละกิเลสเป็นสมุจเฉท มีคำ เรียกคุณธรรมนั้น ๆ อีกหลายคำ พระพุทธ เจ้าทรงห้ามภิกษุอวด ปรับอาบัติขั้นสูงถึง ปาราชิก วิ. อุตฺตริมนุสฺสานํ ญายินญฺเจว อริยานญฺจ ธมฺโม อุตฺตริ มนุสฺสธมฺโม.
  39. อุตฺตริย : นป. ความเป็นของสูง, ความเลิศยิ่ง; คำกล่าวตอบ
  40. อุทฺทาล อุทฺทาลก : (ปุ.) ราชพฤกษ์, คูน. วิ. วาต มุทฺทาลยตีติ อุทฺทาโล. อุปุพฺโพ, ทลฺ วิทารเณ, โณ. คำหลัง ก สกัด.
  41. อุทฺเทส : (ปุ.) การยกขึ้นแสดง, การยกขึ้น ชี้แจง, การยกขึ้นอ้างอิง, การแสดง, การชี้แจง, การบรรยาย, การสวด, คำชี้แจง, คำอธิบาย, พระปาติโมกข์ ชื่อพระบาลีที่ ยกขึ้นสวดทุกกึ่งเดือน, อุเทศ คือ การจัด อย่างสังเขปรวมเป็นข้อ ๆ ไว้ การสอน หรือการเรียนพระบาลี. อุปุพฺโพ, ทิสฺ ปกาสนอติสชฺชเนสุ, โณ, ทฺสํโยโค. ส. อุทฺเทศ.
  42. อุทฺธมฺม : ป. อธรรม, คำสอนที่ผิด
  43. อุทฺธรณ : (นปุ.) การยกขึ้น, การรื้อขึ้น, ความยกขึ้น, ความรื้อขึ้น. ไทยใช้คำ อุทธรณ์ หมายถึงการฟ้องร้องต่อศาลที่สอง (ศาล อุทธรณ์) เพื่อขอร้องให้ศาลรื้อฟื้นเรื่องขึ้น พิจารณาและตัดสินใหม่. อุปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, ยุ. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ. ส. อุทฺธรณ.
  44. อุทาน : (นปุ.) การเปล่ง, คำเปล่ง, คำที่เปล่ง ขึ้นทันที. อุปุพฺโพ, อิ อุจฺจารเณ, ยุ, ทฺ อาคโม, แปลง อิ เป็น อา.
  45. อุทานคาถา : (อิต.) คำที่เปล่งขึ้นด้วยความเบิกบานใจ.
  46. อุปตฺติ อุปฺปตฺติ : (อิต.) การเกิด, การเกิดขึ้น, การบังเกิด, การบังเกิดขึ้น, ความเกิด, ฯลฯ, เหตุ, เหตุเครื่องบังเกิด, กำเนิด, การลง อุ. วิภตฺตุปฺปตฺติ การลงวิภัติ. อุปุพฺ โพ, ปทฺ คติยํ, ติ. วิ. อุปฺปชฺชนํ อุปตฺติ อุปฺปตฺติ วา. คำหลังซ้อน ป. ไทยใช้อุบัติ เป็นกิริยา ในความว่า เกิด เกิดขึ้น ใช้เป็น นามว่า การเกิดขึ้น. กำเนิด เหตุ รากเหง้า. ส. อุตฺปตฺติ.
  47. อุปเทส : (ปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่อาจารย์ใน ปางก่อน, คำสอนที่สืบกันมาแต่อาจารย์ ในปางก่อน, อุบายเป็นเครื่องเข้าไปแสดง อ้าง, การแนะนำ, การสั่งสอน, การชี้แจง, คำแนะนำ, ฯลฯ. วิ. อาจาริยํ อุปคนฺตฺวา ทิสฺสตีติ อุปเทโส. อุปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ. ส. อุปเทศ.
  48. อุปนิสฺสย : (ปุ.) ธรรมเป็นที่เข้าไปอาศัย, ธรรมเป็นอุปนิสัย, ฉันทะเป็นที่เข้าไป อาศัย, อุปนิสสัย อุปนิสัย คือความประพฤติเคยชิน เป็นพื้นมาแต่อดีตชาติ คุณ ความดีที่ฝังอยู่ใน สันดาน ซึ่งจะเป็นฐาน รองรับผลดียิ่ง ๆ ขึ้นไป หรือแววของจิต. ในอภิธรรม หมายเอา คุณความดีอย่างเดียว ส่วนคำนิสสัย นิสัย หมายเอาทั้งทางดีทางชั่ว. อุป นิ ปุพฺโพ, สิ สี วา สเย, อ.
  49. อุปสคฺค : (ปุ.) อันตรายเครื่องเข้าไปข้องอยู่, อันตรายเข้าไปขัดข้องอยู่, อันตรายเข้าไป ขัดข้อง, อันตรายเครื่องขัดข้อง, อันตราย เครื่องขัดขวาง, สิ่งที่เข้าไปขัดข้อง, สิ่งที่ เข้าไปขัดขวาง, สิ่งที่กีดขวาง, อันตราย, จัญไร (ความเป็นเสนียด). วิ. อุปคนฺตวา สชติ ปกาเสตีติ อุปสคฺโค. อุปปุพฺ โพ, สชฺ วิสชฺชนาทีสุ, โณ. ไวยากรณ์เรียกคำ ชนิดหนึ่งสำหรับ นำหน้านามและกิริยาให้วิเศษขึ้น มี อติ เป็นต้น ว่า อุปสรรค. ส. อุปสรฺค.
  50. อุปารมฺภ : ป., อุปารมฺภน นป. คำตำหนิ, คำคัดค้าน
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-468

(0.0281 sec)