Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สิ้นเรื่อง, เรื่อง, สิ้น , then รอง, เรื่อง, สน, สนรอง, สิ้น, สิ้นเรื่อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สิ้นเรื่อง, 566 found, display 201-250
  1. อปราปริย : ค. ติดตามไปไม่สิ้นสุด, สืบต่อ
  2. อพฺยย : (วิ.) คงที่, อยู่ที่, ไม่สิ้น, ไม่เสื่อม, ไม่แปลง, ไม่เปลี่ยน, ไม่เปลี่ยนแปลง, ไม่แปลผัน, ไม่ฉิบหาย.นปุพฺโพ, พฺยยฺขเย, อ.
  3. อภยูปรต : (ปุ.) พระขีณาสพผู้อันความกลัวไม่เข้าไปย้อมแล้ว, พระขีณาสพผู้อันความกลัวไม่ย้อมแล้ว, พระขีณาสพผู้มีความกลัวอันสิ้นแล้ว.ดูภยูดปรตด้วย.
  4. อภิธมฺม : (ปุ. นปุ.) ธรรมยิ่ง, ธรรมอย่างสูง, ธรรมอันประเสริฐ, อภิธรรมกล่าวด้วยเรื่องจิตเจตสิกรูปและนิพพานเป็นปิฎกที่๓.ส. อภิธรรม.
  5. อมาวสีอมาวาสี : (อิต.) ดิถีมีพระอาทิตย์และพระจันทร์อยู่ร่วมกัน, ดิถีดับ, วันดับคือวันสิ้นเดือนทางจันทรคติ.วิ. อมาสหวสนฺติรวิจนฺทายสฺสํสาอมาวสี.อมาปุพฺโพ, วสฺนิวาเส, ณี.ศัพท์ต้นไม่มีทีฆะ.
  6. อมาวสี อมาวาสี : (อิต.) ดิถีมีพระอาทิตย์และ พระจันทร์อยู่ร่วมกัน, ดิถีดับ, วันดับคือวัน สิ้นเดือนทางจันทรคติ. วิ. อมา สห วสนฺติ รวิจนฺทา ยสฺสํ สา อมาวสี. อมาปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, ณี. ศัพท์ต้นไม่มีทีฆะ.
  7. อมาวสี, อมาวาสี : อิต. วันสิ้นเดือนทางจันทรคติ, วันเดือนดับ
  8. อวตฺถุ : ค. ไม่มีมูล, ไม่มีเรื่อง, ไม่มีวัตถุ
  9. อวฺยยีภาว : ป. ความเป็นของไม่สิ้น ; เป็นชื่อของสมาสซึ่งมีอัพยยศัพท์เป็นบทประกอบ
  10. อวฺยเยน : ก. วิ. โดยปราศจากความสิ้นเปลือง, โดยไม่หมดสิ้นไป
  11. อวสายี : ค. ซึ่งอวสาน, สิ้นสุด, จบ
  12. อวีต : ค. ไม่ไปปราศ, ไม่หมดสิ้น
  13. อเสส : ก. วิ. โดยไม่มีส่วนเหลือ, สิ้นเชิง
  14. อาขยายิกา : อิต. อาขยายิกศาสตร์, เรื่องราว, นิทาน, ประวัติ
  15. อาทยุปลทฺธิ : (อิต.) ความรู้สิ่งที่เกิดก่อน, ความรู้เรื่องที่เกิดก่อน, ความรู้เรื่องปฐมสัตว์, ปฐมสัตย์วัตถุ.
  16. อาปตฺตาธิกรณ : (นปุ.) เรื่องที่ต้องระงับอันเกิดจากการต้องอาบัติ, การต้องอาบัติ, การต้องอาบัติทั้งปวง, เรื่องของอาบัติ.
  17. อายุกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งอายุ, การสิ้นอายุ
  18. อายุขย : (ปุ.) ความสิ้นไปแห่งอายุ, ความสิ้นแห่งอายุ, ความสิ้นอายุ, การสิ้นอายุ, อายุขัย ( ความตาย เมื่อหมดเขตของอายุของสัตว์).ส.อายุกฺษย.
  19. อาสวกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นไปแห่งอาสวะ.
  20. อาสวกฺขยญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเหตุยัง อาสวะให้สิ้นไป, ความรู้เป็นเหตุสิ้น อาสวะ, ความรู้ในความสิ้นไปแห่งอาสวะ.
  21. อิตฺถิกถา : อิต. อิตถีกถา, การพูดถึงเรื่องผู้หญิง
  22. อิติภวาภวกถา : (อิต.) เรื่องความเจริญและ ความเสื่อมด้วยประการนั้น ๆ
  23. อิติหาส : (ปุ.) อิติหาสศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วย พงศาวดารยืดยาว มีภารตยุทธ์ เป็นต้น. เรื่องราว, นิทาน.
  24. อีเรติ : ก. พูด, กล่าวออกมา, ซัด, ให้สิ้นไป
  25. อุจฺเฉท : (ปุ.) การตัดขาด, การขาดสิ้น, การ ขาดสูญ, ความตัดขาด, ฯลฯ. อุปุพฺโพ, ฉิทฺ เฉทเน, โณ.
  26. อุชฺฌานสญฺญี : ค. ผู้มีเจตนาร้าย, มีจิตแสวงหาเรื่องที่จะกล่าวโทษ
  27. อุทฺธรณ : (นปุ.) การยกขึ้น, การรื้อขึ้น, ความยกขึ้น, ความรื้อขึ้น. ไทยใช้คำ อุทธรณ์ หมายถึงการฟ้องร้องต่อศาลที่สอง (ศาล อุทธรณ์) เพื่อขอร้องให้ศาลรื้อฟื้นเรื่องขึ้น พิจารณาและตัดสินใหม่. อุปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, ยุ. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ. ส. อุทฺธรณ.
  28. อุปญฺญาส : (ปุ.) คำนำเรื่อง, อารัมภกถา. วิ. อุป ปฐมํ ปุริมวจนสฺส สมีปํ วา นฺยาโส ฐปนํ อุปญฺญาโส. อุป นิ ปุพฺโพ อาสฺ อุปเวสเน, อ. แปลง อิ ที่ นิ เป็น ย รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ. สาวัตถทีปนี เป็น อุปญาส.
  29. อุปลาปน : นป. การโกหกตอแหล, เรื่องเหลวไหล, การชักชวน
  30. อุปาทานกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งอุปาทาน
  31. เอกกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) คราวเดียว, คราว หนึ่ง, ครั้งเดียว, ครั้งหนึ่ง, หนหนึ่ง. สัมพันธ์เป็นกิริยาวิเสสนะ, สิ้นคราวเดียว, ฯลฯ. กฺขตฺตํปัจ. ลงในวารอรรถรูปฯ ๔๐๓. สัมพันธ์เป็น อัจจันตสังโยค.
  32. เอกรตฺติวาส : (วิ.) มีการอยู่สิ้นราตรีเดียว. วิ. เอกรตฺตึ วาโส อสฺสตฺถีติ เอกรตฺติวาโส. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  33. เอกวตฺถุ : (นปุ.) เรื่องหนึ่ง, เรื่องเดียว, สิ่ง หนึ่ง, ฯลฯ.
  34. โอวาทปาฏิโมกฺข โอวาทปาติโมกฺข : (ปุ.) คำสั่งสอนอัน เป็นประธานโดยความเป็นใหญ่, โอวาทปาฏิโมกข์, โอวาทปาติโมกข์ ชื่อ โอวาทซึ่งประพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระอรหันต์ ๑๒๕๐ องค์ เป็น เอหิภิกขุอุป สัมปทา ทั้งสิ้น ซึ่งมาประชุมกันโดยมิได้ นัดหมาย ณ วันเพ็ญมาฆบูชาหลังตรัสรู้ แล้วได้ ๙ เดือน เป็นหลักสำคัญ (หัวใจ) ของพระพุทธศาสนา มหาปธานสูตร ที. มหา. ไตร. ๑๐/๕๔.
  35. โอสาน : (วิ.) สิ้น, สิ้นลง, สุด, สุดลง, จบ, จบลง. อวปุพฺโพ, สา อวสาเน, ยุ.
  36. โอสาเปติ : ก. ให้จม, ให้ตกลง, ให้สิ้นสุดลง
  37. ลาส, - สน : นป. การละเล่น, กีฬา, การฟ้อนรำ
  38. กุฏฐ : ๑. นป. โรคเรื้อน; ต้นโกฐ; ๒. ค. เล็ก, น้อย, รอง
  39. คุณ : (วิ.) ซ้อน, ทบ, รอง, น้อย, ประกาศ.
  40. ทูสน : นป. ดู ทุสฺสน
  41. ธมฺมาสน : (นปุ.) ที่เป็นที่นั่งแสดงซึ่งธรรม, ที่สำหรับนั่งแสดงธรรม, อาสนะเป็นที่ แสดงซึ่งธรรม, ธรรมาสน์ (ที่สำหรับภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม). วิ. ธมฺมํ เทเสนฺโต อาสิ เอตฺถาติ ธมฺมาสนํ. ส. ธรฺมาสน.
  42. นิชิคึสนตา : อิต. ดู นิชิคึสน
  43. นิวสน : (นปุ.) การนุ่ง, การห่ม, การนุ่งห่ม. นิปุพฺโพ, วสฺ อจฺฉาทเน, ยุ. ส. นิวสน.
  44. ปริยุปาสน : (นปุ.) การนั่งใกล้. ปริ + อุปาสน ยฺ อาคม.
  45. สทสฺสน : (นปุ.) การเห็นได้โดยง่าย, ความเห็นได้โดยง่าย. สุข+ทสฺสน, การเห็นได้ด้วยดี, ความเห็นได้ด้วยดี. สุฏฺฐุ+ทสฺสน.
  46. สมฺมสนญาณ : (นปุ.) ความรู้ในการพิจารณารูปและนามเป็นไตรลักษณ์, ญาณในการพิจารณารูปและนามโดยความเป็นไตรลักษณ์. การกำหนดขันธ์ ๕ คือ ...อาตยนะ ภายใน ๖ คือ ... และชาติโดยความเป็นของไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์โดยความเป็นอนัตตา เรียกว่าสัมมสนญาณ ไตร. ๓๑ ข้อ ๙๙.
  47. สมสน : (นปุ.) การย่อ, สํปุพฺโพ, อสุเขปเน. ยุ. ส. สมสน.
  48. สุน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ สทฺเท วา, อ. ส. ศุน.
  49. สูณ สูน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ, อ, ทีโฆ. สุ สวเน วา, ยุ. ศัพท์ต้นแปลง น เป็น ณ อภิฯ.
  50. หึสน : (นปุ.) การเบียดเบียน, ฯลฯ. ยุ อ ปัจ. ส. หึสน, หึสา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-566

(0.0637 sec)